Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRoschanawan Poonouninen
dc.contributorรจนวรรณ ภูเนาว์นิลth
dc.contributor.advisorJiraporn Chanoen
dc.contributor.advisorจิระพร ชะโนth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:15Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:15Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2070-
dc.description.abstractTo examine using task-based learning with video on YouTube for teaching English, the researcher focuses on comparing English listening skills with 75 percent criteria, studying speaking skills, and motivation of grade 11th students. Cluster random sampling was used to select the sample group of thirty-nine students from the Science and Math program at Phadungnaree School. Lesson plans, listening and speaking tests, as well as intrinsic and extrinsic motivation scales were used in this study. Data were analyzed by percentage, arithmetic mean, and standard deviation. The results of the study illustrated that students who were instructed using task-based learning and YouTube videos achieved an average score of 89.87% on their listening test. Furthermore, they had a very good level of English-speaking skills and a good level of intrinsic and extrinsic motivation in learning English. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย คือ 1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อวิดีโอบน YouTube กับเกณฑ์ร้อยละ 75  2. เพื่อศึกษาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อวิดีโอบน YouTube 3. เพื่อศึกษาเเรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อวิดีโอบน YouTube กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียน วิทย์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนผดุงนารี จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 39 คน ได้มาจากการสุ่มเเบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้เเบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้สื่อวิดีโอบน YouTube 2. แบบทดสอบวัดทักษะการฟัง 3. แบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษเป็นข้อคำถามแบบให้พูดตอบ (Oral test)  และ  4. แบบวัดเเรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้เเก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของทักษะการฟังคิดเป็นร้อยละ 89.87 ซึ่ง มากกว่า เกณฑ์ร้อยละ 75 ที่ตั้งไว้ นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ ดีมาก และผลการศึกษาแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีระดับของแรงจูงใจภายในและภายนอกอยู่ใน ระดับมาก เท่ากัน th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานth
dc.subjectทักษะการฟังth
dc.subjectทักษะการพูดth
dc.subjectแรงจูงใจth
dc.subjectการใช้สื่อ YouTubeth
dc.subjectTask-Based Learningen
dc.subjectListening skillsen
dc.subjectSpeaking skillsen
dc.subjectMotivationen
dc.subjectUsing YouTubeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Instructional Management by Using Task-based Learning with Video on YouTube to Enhance English Listening and Speaking Skills of Grade 11th Students en
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อวิดีโอบน YouTube เพื่อส่งเสริมทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJiraporn Chanoen
dc.contributor.coadvisorจิระพร ชะโนth
dc.contributor.emailadvisorjiraporn.j@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorjiraporn.j@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010552019.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.