Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2092
Title: | Developing a Program to Strengthen Innovative Leadership of School Administrators under the Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 |
Authors: | Yutthachai Toemvithi ยุทธชัย เติมวิถี Lakkhana Sariwat ลักขณา สริวัฒน์ Mahasarakham University Lakkhana Sariwat ลักขณา สริวัฒน์ lakkana.sariwat@hotmail.com lakkana.sariwat@hotmail.com |
Keywords: | การพัฒนาโปรแกรม ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม การเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม Development of the program Innovative leadership Strengthen innovative leadership |
Issue Date: | 5 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed 1) to study the current conditions, desirable conditions, and the needs to enhance Innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2 2) to design, build and evaluate programs to enhance innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2. The researcher defined the research method into 2 phases: Phase 1 was to study the current conditions, desirable conditions, and the needs to enhance innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2. The samples were 155 educational institute administrators or acting in positions under the Chaiyaphum primary educational service area office 2, in the academic year 2022, obtained by stratified random sampling techniques. The research tool was an estimation scale questionnaire. Phase 2 was to design, build and evaluate programs to enhance innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2, the group of experts who provided information in the study with best practices were educational administrators in the educational service area office from the educational service area office, 3 people were selected by purposive sampling. A group of experts assessed the suitability and feasibility of an innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2 namely school administrators and university professors, amounting to 5 persons selected by purposive sampling. The research tools were structured interviews, appropriateness, and feasibility assessment form for an innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2. Statistics for data analysis were mean, standard deviation. and the priority needs index.
The results showed that:
1. Innovative leadership of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2 on the current conditions as a whole and each aspect were at the moderate level, the desirable conditions as a whole and each aspect were at a high level and all aspects were at a high level. In terms of priority needs, it is appeared that the orders from high to low were Take risks with innovation, Innovation creativity, Teamwork, and Innovation vision.
2.The innovative leadership program of school administrators under the Chaiyaphum primary educational service area office 2 consisted of 1) Principles 2) Objectives 3) Contents of Activities according to the elements of innovation leaders in 4 modules: Module 1: Innovation vision, Module 2: Innovation creativity, Module 3: Take risks with innovation and Module 4 Teamwork. 4) Development Processes and Development Methods 5) Measurement and Evaluation. The program was assessed the appropriate and the possibility at the highest level. การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 2) เพื่อออกแบบสร้างและประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ผู้วิจัยกำหนดวิธีการดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการในตำแหน่ง ฯ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 155 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า ระยะที่ 2 ออกแบบสร้างและประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อมูลในการศึกษาที่มีผลการปฏิบัติที่ดี (Best Practices) คือ ผู้บริหารการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 3 คน จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3 แห่ง ซึ่งได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลัยได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ในสภาพปัจจุบันโดยรวม และแต่ละด้านอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์โดยรวม และแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก ส่วนความต้องการจำเป็นเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ กล้าหาญและกล้าเสี่ยงต่อนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม การทำงานเป็นทีม และการมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม ตามลำดับ 2. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหากิจกรรม ตามองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม 4 Module ได้แก่ Module 1 การมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม Module 2 การมีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม Module 3 กล้าหาญและกล้าเสี่ยงต่อนวัตกรรม Module 4 การทำงานเป็นทีม 4) กระบวนการพัฒนาและวิธีการพัฒนา 5) การวัดและประเมินผล โปรแกรมได้รับการประเมินโดยรวมมีความเหมาะสม และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2092 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010581043.pdf | 5.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.