Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirintra Sabuebanen
dc.contributorศิรินทรา สระบัวบาลth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:22Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:22Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued20/1/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2103-
dc.description.abstractThe present study aimed 1) to investigate the current situations, desirable situations and needs of agile leadership of school administrators under Buriram secondary educational service area office, 2) to design and evaluate the program to strengthen agile leadership of school administrators under Buriram secondary educational service area office. The research was divided into 2 phases; phase 1 was the investigation related to the current situations, desirable situations and needs of agile leadership of school administrators, the sample was 350 consisted of 18 school administrators and 332 teachers, the instruments used were the questionnaire of current situations with .97 of the reliability and the questionnaire of desirable situations with .99 of reliability, statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, Cronbach's alpha and PNImodified. Phase 2 was the design   program to strengthen agile leadership of school administrators under Buriram secondary educational service area office and evaluation by 5 experts who were selected by purposive sampling, the instruments used were the semi-structured interview form and the evaluation form of suitability and feasibility of the program. The results of the study revealed that; 1.   The results of current situations investigation related to the agile leadership of school administrators revealed that overall rated in moderate level, when considered into each aspect showed that  the highest mean was self-leadership agility, the results of desirable situations overall rated in the most level, the highest mean was self-leadership agility, and needs of development the agile leadership of school administrators revealed that the highest mean was context-setting agility, stakeholder agility, creative agility and self-leadership agility respectively.  2. The results of design the program revealed that the program to strengthen agile leadership of school administrators under Buriram secondary educational service area office consisted of 1) principle, 2) objectives, 3) contents, 4) methods, 5) evaluation and assessment. The contents of the program comprised of 4 modules; module 1 context-setting agility, module 2 stakeholder agility, module 3 creative agility, and module 4 self-leadership agility. The results of program evaluation pointed out that the suitability was rated in the most level and the feasibility was also rated in the most level.en
dc.description.abstractบทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ 2) ออกแบบ สร้าง และประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 18 คน ครูผู้สอน 332 คน รวมจำนวน 350 คน จากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม โดยเป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่าค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ สภาพปัจจุบันอยู่ที่ .97 และสภาพที่พึงประสงค์อยู่ที่ .99 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบครอนบาค และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNImodified) ระยะที่ 2 ออกแบบ สร้าง และประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ และประเมินโปรแกรมด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ  จำนวน 5 คน  ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความคล่องแคล่วในภาวะผู้นำของตนเอง (Self - leadership Agility) สภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความคล่องแคล่วในภาวะผู้นำของตนเอง (Self - leadership Agility)  ส่วนความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความคล่องแคล่วในด้านบริบท (Context - setting Agility)  ความคล่องแคล่วในด้านผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Agility) ความคล่องแคล่วในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Agility) และความคล่องแคล่วในภาวะผู้นำของตนเอง (Self - leadership Agility)   2.โปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์  ประกอบด้วย 1) หลักการ  2) วัตถุประสงค์  3) เนื้อหาสาระ 4) วิธีการพัฒนา  5) การวัดและประเมินผล  เนื้อหาสาระประกอบด้วย 4 Module ได้แก่ Module 1 ความคล่องแคล่วในด้านบริบท (Context – setting Agility)  Module 2 ความคล่องแคล่วในด้านผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Agility)  Module 3 ความคล่องแคล่วในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Agility) และ Module 4 ความคล่องแคล่วในภาวะผู้นำของตนเอง (Self - leadership Agility)   ซึ่งผลการประเมินโปรแกรมโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด   และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectภาวะผู้นำแบบอไจล์th
dc.subjectProgram Developmenten
dc.subjectAgile Leadershipen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleThe Program to Strengthen Agile Leadership of School Administrators under Buriram Secondary Educational Service Area Officeen
dc.titleโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำแบบอไจล์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.coadvisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.emailadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010581058.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.