Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2110
Title: The development of active science learning activities on stoichiometric of mathayomsuksa 4 students
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Authors: Manassawee Wannomai
มณัสวี วรรณโนมัย
Prasart Nuangchalerm
ประสาท เนืองเฉลิม
Mahasarakham University
Prasart Nuangchalerm
ประสาท เนืองเฉลิม
prasart.n@msu.ac.th
prasart.n@msu.ac.th
Keywords: การเรียนรู้เชิงรุก
วิทยาศาสตร์เชิงรุก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความคิดเห็น
Active Learning
Active Science
Academic Achievement
Opinions
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of the research were 1) to develop an active science learning activities on stoichiometric of mathayomsuksa 4 students, 2) to compare academic achievement after receiving an active science learning activities on stoichiometric of mathayomsuksa 4 students with the criteria of 70 percent and 3) to study the opinions of an active science learning activity on stoichiometry of mathayomsuksa 4 students. The sample group used in the research was 41 mathayomsuksa 4 students in the 2nd semester of the academic year 2022, 41 students, which were obtained by cluster random sampling. The instruments used in this research were active science learning activities. Active science learning activities plan on stoichiometry. Achievement test and a questionnaire on students' opinions on active science learning activities. The statistics used in the research were mean, standard deviation and one sample t-test. The research results were as follow: 1) the development of active science learning activities It was found that the appropriateness of the active science learning activities was the most appropriate. 2) the academic achievement after receiving the active science learning activities on stoichiometry of mathayomsuksa 4 students had an average score higher than the criteria of 70 percent with a statistical significance at the .05 level, and 3) opinions on the implementation of active science learning activities on stoichiometry of Mathayomsuksa 4 students in the agree level with a mean score of 4.43 and a standard deviation of 0.68
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 41 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้มี ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นขอนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก พบว่ามีความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุกมีความเหมาะสมมากที่สุด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงรุก เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับเห็นด้วย โดยมีคะแนนค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.68
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2110
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010582022.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.