Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2144
Title: Internet of Things and Artificial Intelligence Implementation for Electric Powered Wheelchair
การประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตในสรรพสิ่งและปัญญาประดิษฐ์สำหรับรถเข็นไฟฟ้าคนพิการ 
Authors: Benchalak Muangmeesri
เบญจลักษณ์ เมืองมีศรี
Kittipol Wisaeng
กิตติพล วิแสง
Mahasarakham University
Kittipol Wisaeng
กิตติพล วิแสง
kittipol.w@acc.msu.ac.th
kittipol.w@acc.msu.ac.th
Keywords: รถเข็นไฟฟ้าคนพิการ
อินเทอร์เน็ตในสรรพสิ่ง
ปัญญาประดิษฐ์
ระบบอัตโนมัติ
wheelchairs
Internet of Thing
artificial intelligence
Automation System
Issue Date:  10
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this study were to design and develop electric powered wheelchairs that connected with Internet of Thing technologies and artificial intelligence technologies and  to test the performance of electric powered wheelchairs with the application of Internet of Thing and artificial intelligence  for the handicapped.  This research was a record of testing the performance of mechanical engineering wheelchairs follows industry security standards including 1) Maximum Speed Testing 2) Maximum Ramp Testing 3) Maximum Load Testing and 4) Power Consumption Testing and was a record of testing in Medical Electrical Equipment as IEC60601-1-2  including 1) Radiated Emission 2) Radiated Immunity 3) Power Frequency Magnetic 4) Electrostatic Discharge. Finally result that electric powered wheelchairs that connected with Internet of Thing technologies and artificial intelligence can controlled the movement, position, speed and effective in the direction specified.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนารถเข็นไฟฟ้าคนพิการที่มีการเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในสรรพสิ่งและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพรถเข็นไฟฟ้าที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในสรรพสิ่งและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ สำหรับรถเข็นไฟฟ้าคนพิการ เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบบันทึกการทดสอบสมรรถนะของรถเข็นไฟฟ้าคนพิการเพื่อให้ได้ตามมาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล ประกอบด้วย 1)การทดสอบด้านความเร็วสูงสุด  2) การทดสอบความสามารถในการขึ้นทางลาดชัน  3) การทดสอบความสามารถในการรับน้ำหนัก 4) การทดสอบความสามารถในการเก็บพลังงาน  และการทดสอบตามมาตรฐานความปลอดภัยของเครื่องมือแพทย์ประเภทใช้ไฟฟ้าเป็นตัวนำ IEC60601-1-2  ประกอบด้วย 1)การแผ่รังสี 2) ภูมิคุ้มกันที่ฉายรังสี 3) ความถี่แม่เหล็กไฟฟ้า 4) ไฟฟ้าสถิต ผลจากการทดสอบรถเข็นไฟฟ้าด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในสรรพสิ่งและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ทำให้สามารถควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ การควบคุมตำแหน่ง และการควบคุมความเร็ว มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามทิศทางที่กำหนดไว้           
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2144
Appears in Collections:Mahasarakham Business School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010990002.pdf9.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.