Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2179
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Parichat Wonglakhon | en |
dc.contributor | ปาริฉัตร วงละคร | th |
dc.contributor.advisor | Chinnawat Chuea | en |
dc.contributor.advisor | ชินวัตร เชื้อสระคู | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T14:35:51Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T14:35:51Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 2/4/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2179 | - |
dc.description.abstract | As the government has introduced the Thailand 4.0 policy for the benefit of the country's development, in order to make rapid and steady progress, it has used modern technology to advance mechanisms in management. Technology has been applied to the system of government agencies. When technology is incorporated into work, people have a greater understanding of technology. Therefore, there must be a change in the form of organizational elements in line with the changes that have occurred to improve the service system of government agencies.This research aims to study the current level of organizational elements and to study the 'equilibrium effectiveness level of the organization. Measuring the relationship between the organizational elements and the equilibrium effectiveness level of the government agencies in Chum Phae district in Khon Kaen province, namely the Community Development Office, the Agriculture Office, the Provincial Water Works Authority, and the Provincial Electricity Authority in Chum Phae district in Khon Kaen province, how the research was conducted. The population of the research was government service providers in Chum Phae district in Khon Kaen province with a total of 128 people. The sample group used in the quantitative research consisted of 97 people, and their analysis was divided into two parts.Data were analyzed using descriptive statistics (mean, percentage, standard deviation) and inferential statistics (analysis of the relationship between variables and correlation coefficient and multiple regression analysis). Qualitative research, the respondents were administrators of government agencies in Chum Phae district, Khon Kaen province, 1 person per agency, 5 persons in total, using the data from the interview for content analysis The results show that the overall level of organizational management components was the highest, with an average of 4.28. The level of balance effectiveness was the highest with an average of 4.45. It was found that the output variable can predict the success with the multiple regression coefficient. There are 3 dimensions out of 6, namely employee skills and knowledge (Sig = 0.041), values and culture (Sig = 0.047), and organizational design (Sig = 0.002) with a statistical significance level of 0.05, and these 3 dimensions can significantly predict the equilibrium effectiveness of the organization. However, the other 3 dimensions of organizational elements that do not have a significant level or cannot affect the equilibrium effectiveness of the organization are: physical component dimensions (Sig = 0.271) , administrative support (Sig = 0.318) and organizational policy (Sig = 0.197). The regression coefficient of forecasting was .273. The initial variable of the organizational component could explain the variance or the predictive power was 56.40%. | en |
dc.description.abstract | ตามที่รัฐบาลได้กําหนดนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศให้ก้าวไกลอย่างรวดเร็วและมั่นคง ได้นําเทคโนโลยีอันทันสมัยมาขับเคลื่อนกลไกในการบริหารงาน มีการนําเทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้ในระบบหน่วยงานรัฐ เมื่อมีเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้ามาในการทํางานประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีมากขึ้น จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์ประกอบของการจัดองค์กรให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นปรับปรุงระบบการให้บริการของหน่วยงานรัฐ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาระดับองค์ประกอบของการจัดองค์กรในปัจจุบัน และศึกษาระดับประสิทธิผลเชิงดุลยภาพขององค์กร เพื่อวัดระดับความสัมพันธ์องค์ประกอบของการจัดองค์กรกับประสิทธิผลเชิงดุลยภาพของหน่วยงานรัฐ อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ สํานักงานพัฒนาชุมชน สํานักงานที่ดิน สํานักงานเกษตร การประปาส่วนภูมิภาค และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น วิธีดำเนินงานวิจัย ใช้การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณเป็นหลักและข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นส่วนเสริม ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ให้บริการหน่วยงานรัฐ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ทั้งหมด 128 คน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณจำนวน 97 คน ซึ่งแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วน คือการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา(Descriptive statistics)ด้วยการหาค่าเฉลี่ย การหาร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน(inferential statistics) ด้วยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression)การวิจัยในเชิงคุณภาพผู้ให้สัมภาษณ์คือผู้บริหารของหน่วยงานรัฐ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่นจำนวนหน่วยงานละ 1 คน รวม 5 คน โดยนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าโดยรวมระดับองค์ประกอบของการจัดการองค์กรอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.28 ระดับประสิทธิผลเชิงดุลยภาพอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.45 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการจัดการองค์กร 6 มิติ กับประสิทธิผลเชิงดุลยภาพ 4 ด้าน พบว่า ตัวแปรต้นสามารถพยากรณ์ความสําเร็จด้วยสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุคูณ มี 3 จาก 6 มิติได้แก่ มิติด้านทักษะและความรู้ของพนักงาน(Sig = 0.041) ค่านิยมและวัฒนธรรม(Sig = 0.047) และการออกแบบองค์กร(Sig = 0.002) โดยระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง 3 มิติดังกล่าวสามารถพยากรณ์ประสิทธิผลเชิงดุลยภาพขององค์กรได้อย่างมีนัยสําคัญ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบของการจัดองค์กรอีก 3 มิติ ไม่มีระดับนัยสําคัญหรือไม่สามารถมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลเชิงดุลยภาพขององค์กรได้แก่ มิติด้านองค์ประกอบทางกายภาพ(Sig = 0.271) การสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร(Sig = 0.318) และนโยบายองค์กร(Sig = 0.197) โดยตัวแปร ต้นที่มีอํานาจการทํานายดีที่สุดคือปัจจัยด้านการออกแบบองค์กร โดยค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของการพยากรณ์เท่ากับ .273 ตัวโดยแปรต้นองค์ประกอบขององค์กรสามารถอธิบายความแปรปรวนหรือมีอํานาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 56.40 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ไทยแลนด์ 4.0 | th |
dc.subject | หน่วยงานรัฐ | th |
dc.subject | เทคโนโลยี | th |
dc.subject | ประสิทธิผลเชิงดุลยภาพ | th |
dc.subject | องค์ประกอบของการจัดองค์กร | th |
dc.subject | Thailand 4.0 | en |
dc.subject | Government agency | en |
dc.subject | Technology | en |
dc.subject | Equilibrium effectiveness | en |
dc.subject | Elements of organization | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Public administration and defence; compulsory social security | en |
dc.title | Factors of Organising affected in Balance Scorecard: The Case Study of government agencies in Chum Phae District, Khon Kaen Province | en |
dc.title | องค์ประกอบของการจัดองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลเชิงดุลยภาพ:กรณีศึกษา หน่วยงานรัฐ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chinnawat Chuea | en |
dc.contributor.coadvisor | ชินวัตร เชื้อสระคู | th |
dc.contributor.emailadvisor | chinnawat.c@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | chinnawat.c@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Political Science (M.Pol.Sc.) | en |
dc.description.degreename | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Office Secretary College of Politic | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | The College of Politics and Governance |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64011381006.pdf | 4.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.