Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2184
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Patcharin Phuwilert | en |
dc.contributor | พัชรินทร์ ภูวิเลิศ | th |
dc.contributor.advisor | Santisith Khiewkhern | en |
dc.contributor.advisor | สันติสิทธิ์ เขียวเขิน | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T14:43:46Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T14:43:46Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 9/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2184 | - |
dc.description.abstract | This research was a mixed method aimed to 1) determine the prevalence and factors associated with glycemic uncontrolled for type 2 diabetes mellitus (T2DM) in Kalasin Province and 2) to study the results of the outcomes of the developed health care program. The sample was divided into two parts: 1) 385 T2DM patients 2) 80 uncontrolled T2DM patients divided into experimental groups and comparison groups, each comprised of 40 people. The instruments used for data collection were questionnaires. The developed program was used as an instrument for improving health care. Data analysis was used for frequency, percentage, minimum, maximum, mean, standard deviation, median, IQR, chi-square, multiple logistic regression, paired t-test, independent t-test, and McNemar’s test. The results revealed that 1) the prevalence of uncontrolled T2DM in patients accounted for 79.74%, and the factors that were significantly related to glycemic uncontrolled for T2DM included age (younger than 60 years old), duration of diabetes > 7 years, incorrect knowledge about DM, and poor self-care behaviors. 2) The results after using the implement, the experimental group had a better mean of self-care behaviors, higher than before experimentation and higher than the comparison group, statistically significance at 0.05, and a decrease in HbA1c higher than those before experimentation and higher than the comparison group, statistically significance at 0.05. The experimental group was able to control blood sugar levels more than the comparison group, not statistically significance at 0.05. The suggestion of this research was to increase the duration of the follow-up measures of health behavior improvement. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดกาฬสินธุ์ และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช่ในการวิจัยมี 2 ส่วนคือ ระยะที่ 1) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 385 คน และระยะที่ 2) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 40 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามและโปรแกรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่, ร้อยละ, ค่าต่ำสุด, ค่าสูงสุด, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, มัธยฐาน, ค่าพิสัยควอไทล์, Chi-square, Multiple Logistic Regression, Paired t - test, Independent t - test และ McNemar’s test ผลการวิจัยพบว่า 1) ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ เท่ากับร้อยละ 79.74 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ได้แก่ อายุที่น้อยกว่า 60 ปี ระยะเวลาป่วยด้วยโรคเบาหวานมากกว่า 7 ปี ความรู้ในระดับต่ำ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่ดี 2) หลังการใช้โปรแกรมที่สร้างขึ้น พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น มากกว่าก่อนการทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในเลือดลดลงมากกว่าก่อนการทดลอง และลดลงมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่ทั้งนี้กลุ่มทดลองมีจำนวนการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งนี้คือ เพิ่มระยะเวลาและมาตรการในการติดตามควบคุมกำกับการปฏิบัติตนของผู้ป่วยให้ยาวนานมากขึ้น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 | th |
dc.subject | ระดับน้ำตาลในเลือด | th |
dc.subject | รูปแบบการดูแลสุขภาพ | th |
dc.subject | type 2 diabetes mellitus | en |
dc.subject | blood sugar level | en |
dc.subject | care model | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | Effectiveness of Health Care Program for Patients with Uncontrolled Type 2 Diabetes Mellitus in Kalasin Province | en |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัดกาฬสินธุ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Santisith Khiewkhern | en |
dc.contributor.coadvisor | สันติสิทธิ์ เขียวเขิน | th |
dc.contributor.emailadvisor | santisith.k@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | santisith.k@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Public Health (Dr.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดุษฏีบัณฑิต | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดุษฏีบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60011460008.pdf | 12.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.