Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2191
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Vattikorn Nadpranil | en |
dc.contributor | วัทธิกร นาถประนิล | th |
dc.contributor.advisor | Sumattana Glangkarn | en |
dc.contributor.advisor | สุมัทนา กลางคาร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T14:43:48Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T14:43:48Z | - |
dc.date.created | 2022 | |
dc.date.issued | 19/12/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2191 | - |
dc.description.abstract | Pregnant women need iodine more than other age groups. Because of developing the brain and the nervous system of infants. The purpose of this action research was to develop a participation model for health partnership network to prevent iodine deficiency in pregnant women. The subjects of this study were divided into two groups which included the model development group and the user group. The model development group consisted of 30 members of the District Health Board, and the other were 32 pregnant women. The data were collected both qualitative and quantitative methods, and were analyzed by descriptive statistics, paired sample t-test to compare before and after intervention, and content analysis. The developing emerged iodine deficiency prevention model for pregnant women included 8 interventions namely 1) Iodine fortified salt fund 2) Monday iodine broadcast 3) Iodine deficiency education 4) Encouragement for taking iodine supplement in pregnant women 5) Finding new pregnant women 6) Visitation of all pregnant women 7) Prenatal care counseling in Tambon health promotion hospital and 8) Health social media. The results indicated that knowledge, practice, and satisfaction were increased significantly at p<0.05. The iodine deficiency prevention in the pregnant women model at Rob Mueang Subdistrict, Mueang Roi Et District was iodine knowledge management, iodine salt fund, home visit and new pregnant women finding, social media, and counselling. The key success factors were the participation of the health partnership network, the area-based pregnancy care system, promotion of various educational methods, monitoring, and supervisory support. The model could be implemented systematically, qualitatively, and sustainably. | en |
dc.description.abstract | หญิงตั้งครรภ์มีความจำเป็นต้องได้รับสารไอโอดีนที่มากกว่ากลุ่มวัยอื่น เพื่อการพัฒนาระบบสมองและประสาทของทารก การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพ ในการป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ตำบลรอบเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบลและภาคีเครือข่ายจำนวน 30 คน และหญิงตั้งครรภ์จำนวน 32 คน รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการพัฒนาใช้สถิติ Paired Sample t-test ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลจากการดำเนินการพัฒนารูปแบบการป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ตาม 8 มาตรการคือ กองทุนเกลือเสริมไอโอดีน หอกระจ่ายข่าวไอโอดีน ทุกเช้าวันจันทร์ ส่งเสริมองค์ความรู้เรื่องโรคขาดสารไอโอดีน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักในการรับประทานยาเสริมไอโอดีน ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ลงเยี่ยมเคาะประตูบ้านหญิงตั้งครรภ์ทุกครอบครัว คลินิกให้คำปรึกษาฝากครรภ์ใน รพ.สต. และสื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ ทำให้กลุ่มตัวอย่าง มีระดับความรู้ การปฏิบัติตน ความพึงพอใจและการมีส่วนร่วม เพิ่มขึ้นก่อนการดำเนินกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยรูปแบบการดำเนินงานการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ในหญิงตั้งครรภ์ของตำบลรอบเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด คือการจัดการความรู้เกี่ยวกับไอโอดีน การดำเนินงานกองทุนเกลือไอโอดีน การเยี่ยมบ้านและค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ และการให้คำปรึกษา ปัจจัยแห่งความสำเร็จในครั้งนี้ คือ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพ ระบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ การสนับสนุนความรู้ที่มีความหลากหลาย การติดตามผลการดำเนินงาน และการได้รับสนับสนุนจากผู้บริหาร สามารถดำเนินงานได้อย่างเป็นระบบ มีคุณภาพและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | th |
dc.subject | การขาดสารไอโอดีน | th |
dc.subject | หญิงตั้งครรภ์ | th |
dc.subject | participation | en |
dc.subject | iodine deficiency | en |
dc.subject | pregnant women | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | The Development of Health Network Parties Participation of Iodine Deficiency Prevention Model among Pregnant Women at Rob Mueang Subdistrict, Mueang Roi Et District, Roi Et Province | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพ เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ตำบลรอบเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sumattana Glangkarn | en |
dc.contributor.coadvisor | สุมัทนา กลางคาร | th |
dc.contributor.emailadvisor | sumattana.g@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | sumattana.g@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Office Secretary Public Health | en |
dc.description.degreediscipline | สำนักงานเลขา คณะสาธารณสุข | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63011481014.pdf | 6.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.