Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattiwuth Jantasaengen
dc.contributorณัฐิวุฒิ จันตะแสงth
dc.contributor.advisorTerdsak Promaraken
dc.contributor.advisorเทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T14:43:48Z-
dc.date.available2023-09-07T14:43:48Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2196-
dc.description.abstractThis action research aims to study the process of infectious waste management by Tambon Health Assembly in Khok Samran Sub-district, Ban Haet District, Khon Kaen Province. The 82 participants were purposive selected form 2 target groups as 1) 56 members of Tambon Health Assembly form three sectors included politics, academia and civil society and 2) 32 patient caregivers who got involved in the community's treatment of infectious trash. The research was conducted between March and May 2023. Data was collected by used test and questionnaires and the quantitative data was analyzed by descriptive statistics and compare before and after development using the Mann-Whitney U test and the qualitative data was using content analysis. This study showed that Khok Samran sub-district has an eight-step of Tambon  Health Assembly that guides the management of infectious waste in the community includes Situation Analysis, Community Planning, Knowledge, Awareness, Health Assembly, Follow-up, Evaluation, and Lesson learned. Therefore, this study processes evaluation suggested that the knowledge, satisfaction, and participation scores have been significantly increased of p<0.05.and found that the key success factor were 4 factors “SPEC” which consisted of 1) Structure of the Tambon Health Assembly (S), 2) Participatory management of infectious waste in community (P), 3) Evaluation (E), and 4) Communication of the community (C). This could solve the problem of infectious waste in the community, It should be applied to others community according to the context of each community to Tambon sustainable of infectious waste management.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยสมัชชาสุขภาพตำบล ของตำบลโคกสำราญ อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง คือ 1) กลุ่มคณะกรรมการเครือข่ายสมัชชาสุขภาพตำบลโคกสำราญ จำนวน 56 คน  ประกอบด้วย ภาคการเมือง ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม และ 2) กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยที่เป็นแหล่งกำเนิดมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน จำนวน 32 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมานในการเปรียบเทียบความแตกต่างก่อน-หลังพัฒนากระบวนการ ด้วยสถิติ Mann-Whitney U test และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ผลของการพัฒนากระบวนการสมัชชาสุขภาพตำบล ของตำบลโคกสำราญ อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น ในการขับเคลื่อนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชนมี 8 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) Situation Analysis: การศึกษาบริบทชุมชน และการวิเคราะห์ปัญหา 2) Community Planning: การจัดทำแผนปฏิบัติการชุมชน 3) Knowledge: การอบรมให้ความรู้ 4) Awareness: การสร้างความตระหนักรู้  5) Health Assembly: การจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชนอย่างมีส่วนร่วมโดยสมัชชาสุขภาพตำบล 6) Follow-up: การเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงาน 7) Evaluation: การประเมินผล  และ 8) Lesson Learned: การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน ผลการประเมินกระบวนการกลุ่มเป้าหมายความรู้ ความพึงพอใจ และการมีส่วนร่วม ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนากระบวนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยสมัชชาสุขภาพตำบล โคกสำราญ เรียกว่า “SPEC” ประกอบด้วย 1) Structure: การกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการเครือข่ายสมัชชาสุขภาพตำบล ตามบริบทของพื้นที่ 2) Participation: การมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน 3) Evaluation: การประเมินผลกระบวนการแก้ปัญหาในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน 4) Communication: การสื่อสารในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน เพื่อการพัฒนาชุมชนให้เป็น “ตำบลจัดการมูลฝอยติดเชื้อยั่งยืน” ต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสมัชชาสุขภาพตำบลth
dc.subjectการจัดการมูลฝอยติดเชื้อth
dc.subjectมูลฝอยติดเชื้อในชุมชนth
dc.subjectTambon health assemblyen
dc.subjectinfectious waste managementen
dc.subjectcommunity infectious wasteen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationMedical diagnostic and treatment technologyen
dc.titleThe Process Of Managing Infectious Waste By The Sub-District  Health Assembly In Khok Samran Subdistrict, Ban Haed District, Khon Kaen Provinceen
dc.titleกระบวนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยสมัชชาสุขภาพตำบล ของตำบลโคกสำราญ  อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTerdsak Promaraken
dc.contributor.coadvisorเทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์th
dc.contributor.emailadvisorterdsak.p@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorterdsak.p@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64011481005.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.