Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2197
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wittaya Sornkaew | en |
dc.contributor | วิทยา ศรแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Vorapoj Promasatayaprot | en |
dc.contributor.advisor | วรพจน์ พรหมสัตยพรต | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T14:43:49Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T14:43:49Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 4/2/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2197 | - |
dc.description.abstract | The objective of this action research was to develop a model of health system governance for emerging and re-emerging diseases prevention and control, in the new normal life, Chang Klang District, Nakhon Si Thammarat Province. This study was conducted between July 2022 and January 2023. Three groups of target samples, including: (1) 403 participants of people and healthcare workers for situation analysis, (2) 39 participants for model development process, and (3) 65 participants for evaluation process were recruited. Systematic sampling method of participant recruitment was performed. Qualitative and quantitative data were completely collected by focus group discussions, observations, and in-depth interviews. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Paired t-test, Independent t-test, and One Sample t-test. The study results revealed that model development process was included in the following 5 steps: (1) community situational analysis, (2) planning, (3) action, (4) observation, and (5) reflection, and lesson learned of community. The 10 main dimensions of the developed model in this study were presented as follow: CHANG KLANG; (1) Community participation, (2) Health information technology, (3) Active response and management, (4) New normal, (5) Governance, (6) Knowledge management and innovation, (7) Literacy, (8) Active ONE HEALTH, (9) Network and team, and (10) Goal. After model development, the results showed significant improvements in the overall scores on competencies, behaviors, and community participation regarding emerging and re-emerging diseases prevention and control in the health care worker group (p<0.05) as well as significant improvements in the overall scores on behaviors and community participation in the people participant group (p< 0.05). In addition, mean scores of all variables were not lower than the target values. Key Success factors for model development in this study were strong community participation, and effective health system governance. Leadership and good governance are important element in prevention and control of emerging and re-emerging diseases encouraged other elements of the six building blocks. The other 5 elements can be able to perform their functions better. A good financial system can support the other 4 elements. Workforce, information, medical product, vaccine and technology can support effective service delivery which is the goal for emerging and re-emerging diseases prevention and control in Chang Klang community. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีรูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบอภิบาลระบบสุขภาพเพื่อการป้องกันควบคุมโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ดำเนินการศึกษา ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2565 – มกราคม 2566 กลุ่มเป้าหมาย มี 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มศึกษาบริบท สถานการณ์ คือ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง และประชาชน จำนวน 403 คน (2) กลุ่มที่มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนารูปแบบ คือ ตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน จำนวน 39 คน และ (3) กลุ่มที่เข้าร่วมประเมินผลการพัฒนารูปแบบ และศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง และประชาชน จำนวน 65 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบ Systematic sampling เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแนวคำถามสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ ร้อยละ Paired t-test, Independent t-test และ One Sample t-test ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการพัฒนารูปแบบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาบริบทของพื้นที่และสภาพปัญหาชุมชน (2) วางแผนร่วมกับชุมชน (3) ดำเนินการตามแผน (4) สังเกตและติดตามผลร่วมกับชุมชน และ (5) สะท้อนผลและถอดบทเรียนจากชุมชน รูปแบบที่พัฒนาขึ้นใหม่จากการศึกษานี้ ประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ “CHANG KLANG” ได้แก่ (1) Community participation (2) Health information technology (3) Active response and management (4) New normal (5) Governance (6) Knowledge management and innovation (7) Literacy (8) Active ONE HEALTH (9) Network and team และ (10) Goal หลังการพัฒนารูปแบบ ผลการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ โดยรวมผ่านการประเมินอยู่ในระดับ Special ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ มีสมรรถนะ พฤติกรรม และการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ สูงกว่าก่อนพัฒนารูปแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ในกลุ่มประชาชน มีพฤติกรรม และการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ คะแนนอยู่ในระดับสูงมาก และสูงกว่าก่อนพัฒนารูปแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) และทุกตัวแปรมีคะแนนไม่ต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การมีส่วนร่วมของชุมชนช้างกลาง ประกอบกับการมีผู้นำที่เข้มแข็งและมีธรรมมาภิบาล เป็นองค์ประกอบสำคัญในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำที่ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์ประกอบอื่นๆ ของ Six Building Blocks อีก 5 องค์ประกอบ ให้สามารถทำหน้าที่ได้ดีขึ้น มีระบบการเงินการคลังที่ดีที่สนับสนุนให้องค์ประกอบ อีก 4 องค์ประกอบ ด้านกำลังคน ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ส่งเสริมการทำหน้าที่ของระบบบริการของอำเภอช้างกลางให้ดีขึ้น โดยที่กำลังคนด้านสาธารณสุขเป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่งผลโดยตรงต่อระบบให้บริการประชาชนในการควบคุมป้องกันโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำที่ดี ซึ่งเป็นเป้าหมายปลายทางขององค์ประกอบทั้งหมด ส่งผลให้ประชาชนในอำเภอช้างกลางปลอดภัยจากโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | รูปแบบอภิบาลระบบสุขภาพ | th |
dc.subject | การป้องกันควบคุมโรค | th |
dc.subject | โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ | th |
dc.subject | วิถีชีวิตใหม่ | th |
dc.subject | Health System Governance | en |
dc.subject | Emerging and Re-emerging Diseases | en |
dc.subject | Prevention and Control | en |
dc.subject | New Normal Life | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | Development of Health System Governance Model for Emerging and Re-emerging Diseases Prevention and Control, in the New Normal Life, Chang Klang District, Nakhon Si Thammarat Province | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบอภิบาลระบบสุขภาพเพื่อป้องกันควบคุมโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Vorapoj Promasatayaprot | en |
dc.contributor.coadvisor | วรพจน์ พรหมสัตยพรต | th |
dc.contributor.emailadvisor | vorapoj@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | vorapoj@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64011481026.pdf | 3.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.