Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2206
Title: | The Cooperative Learning Management to Develop Basic Thai singing skills for High School Students at Selaphumpittayakom School การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาทักษะการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม |
Authors: | Panida Ondee พนิดา อ่อนดี Phiphat Sornyai พิภัช สอนใย Mahasarakham University Phiphat Sornyai พิภัช สอนใย phiphat.s@msu.ac.th phiphat.s@msu.ac.th |
Keywords: | การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทักษะปฏิบัติ การขับร้องเพลงไทย กระบวนการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมกลุ่ม Cooperative learning Skill Teaching Thai Classic Singing Group Activities |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to develop a learning activity model for singing practice skills. Introduction to Thai music by cooperative learning for high school Selaphum Pittayakom School To be effective according to the 80/80 criteria. 2) Study the basic skills of singing Thai songs by learning and 3) to study the student's satisfaction towards cooperative learning. to develop singing skills Introduction to Thai music For high school students Selaphum Pittayakom School by The target group in the study was Students of the Thai Music Club Grade 5, Selaphum Pittayakom School, Selaphum District, Roi Et Province, totaling 15 people. The tools used in this study were: management plan for learning basic skills for singing Thai songs by cooperative learning Achievement test Singing Practice Skill Assessment Form behavioral measurement form learn psychic and a satisfaction assessment questionnaire The statistics used in the analysis were percentages. mean, standard deviation and mean difference analysis and analysis Pearson correlation Statistical significance was set at the 0.05 level.
The study found that
1) Efficiency of the skill-enhancing model according to the learning management plan with singing practice skills Introduction to Thai music by cooperative learning For students in grade 5, effective equal to 81.11/80.89 in accordance with the 80/80 standard.
2) Comparing the academic achievement scores, it was found that after studying there were study higher than before statistically significant The result of the pre-test was an average score of 15.87. and after studying got a score of 24.27 (full score of 30 points).
3) Studying the skills of singing Thai songs, it was found that after learning the scores of singing skills were higher than statistically significant before studying The result of the assessment of singing skills before learning was scored. an average of 8.00 and after studying an average score of 13.07 (full score 15 points).
4) The satisfaction of the students towards the management of learning practice skills for singing Thai songs The overall cooperative learning was at a high level (x̄ = 4.18, S.D. = 0.74). preliminary. การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาทักษะปฏิบัติการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น โดยการเรี และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาทักษะการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม โดยกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาคือ เด็กนักเรียนชมรมดนตรีไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะปฏิบัติการขับร้อง แบบวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย และแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า 1) ประสิทธิภาพของแบบเสริมทักษะตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะปฏิบัติการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.11/80.89 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า หลังเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผลการทดสอบก่อนเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 15.87 และหลังเรียนได้คะแนน 24.27 (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 3) ศึกษาทักษะการขับร้องเพลงไทย พบว่า หลังเรียนมีคะแนนทักษะการขับร้องเพลงสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผลการประเมินทักษะการขับร้องเพลงก่อนเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 8.00 และหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 13.07 (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติการขับร้องเพลงไทยเบื้องต้น โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.18, S.D. = 0.74) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2206 |
Appears in Collections: | College of Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62012050001.pdf | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.