Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/220
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ployphan Chittarach | en |
dc.contributor | พลอยพรรณ จิตราช | th |
dc.contributor.advisor | Natirath Weeranakin | en |
dc.contributor.advisor | เนติรัฐ วีระนาคินทร์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Informatics | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T02:52:41Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T02:52:41Z | - |
dc.date.issued | 8/8/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/220 | - |
dc.description | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this study were: 1) to study the virtual museum model by using the virtual reality technology 2) to develop the virtual dinosaur museum 3) to study the perception of the virtual dinosaur museum and 4) to study the satisfaction of the virtual dinosaur museum. The research and development produce with the methodology of Human-Centered Design including 5 phases: 1) Stakeholder needs of those involved. 2) Scoops content 3) Development of dinosaur virtual museum.4) Deassisment 5) Study the results of the use of virtual dinosaur museum. Research samples 1) A group of participants in the development of the virtual dinosaur museum include 10 administrators and staff of the Paleontological Research and Education Centre and 10 students of Mahasarakham University 2) A group of Media Quality Assessor 8 persons 3) A group of 30 visitors of Paleontological Research and Education Centre. Research tools include: 1) interview forms of stakeholders 2.) media suitability assessment, 3) dinosaur museum application, 4) quality assessment of dinosaur museum, 5) Perception Assessment Form and 6) Media Users Satisfaction Questionnaire. Statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results of the research were as follows: 1) There is a need for model to develop media that makes sense. Easy access; 2) Scoops of the content was about palaeontology, Thai dinosuars, excavation site in Thailand and palaeontological working; 3) Application on mobile in name “Siam Dino 360 Tour”; 4) Assessment of the quality of the virtual dinosaur museum. Overall, the quality was very good. 5) Media perception at the highest level and media satisfaction at the high level | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษารูปแบบของพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงโดยใช้การผสานเทคนิคภาพเสมือนจริง 2) การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง โดยใช้การผสานเทคนิคภาพเสมือนจริง 3) ศึกษาการรับรู้ของผู้ใช้หลังการใช้พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้หลังจากการใช้พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง โดยมีขั้นตอนการศึกษาวิจัยที่อ้างอิงจากกระบวนการออกแบบโดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาความต้องการรูปแบบของพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง 2) การศึกษาขอบเขตของเนื้อหาสำหรับการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง 3) การสร้างพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง 4) การประเมินคุณภาพของสื่อ 5) การศึกษาผลการใช้พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง ได้แก่ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 10 คน นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่เคยเข้าเยี่ยมชม จำนวน 10 คน 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินสื่อ 8 คน 3) ผู้เข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความต้องการรูปแบบ 2) แบบประเมินความเหมาะสมด้านเนื้อหา 3) พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง 4) แบบประเมินคุณภาพของพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง 5) แบบประเมินการรับรู้ และ 6) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อ ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงที่ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง คือ พิพิธภัณฑ์เสมือนเพื่อการเรียนรู้ ที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากโทรศัพท์มือถือ 2) เนื้อหาเกี่ยวกับบรรพชีวินวิทยา ไดโนเสาร์ไทย แหล่งซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย และการทำงานของนักบรรพชีวินวิทยา 3) พัฒนาแอปพลิเคชัน ชื่อ Siam Dino 360 Tour ซึ่งมีผลการประเมินคุณภาพ โดยรวมอยู่ในคุณภาพระดับดีมาก 4) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้หลังใช้สื่อ อยู่ในระดับมากที่สุด และ 5) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจสื่อ อยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง | th |
dc.subject | เทคนิคภาพเสมือนจริง | th |
dc.subject | ไดโนเสาร์ไทย | th |
dc.subject | Virtual Museum | en |
dc.subject | Image-Based Environment | en |
dc.subject | Thai Dinosaur | en |
dc.subject.classification | Computer Science | en |
dc.title | Developing Dinosaur Virtual Museum Model with Virtual Image | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เสมือนจริง โดยใช้การผสานเทคนิคภาพเสมือนจริง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Informatics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56011251501.pdf | 5.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.