Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2318
Title: Evaluation of Urban Rooftop Photovoltaic Potential in Urban Areas Based on Digital Canopy Model
การประเมินศักยภาพพลังงานไฟฟ้าโซลาร์เซลล์บนหลังคาในเขตพื้นที่เมืองด้วยแบบจำลองความสูงของชั้นเรือนยอด
Authors: Aungkhana Chompoosri
อังคณา ชมภูศรี
Teerawong Laosuwan
ธีรวงศ์ เหล่าสุวรรณ
Mahasarakham University
Teerawong Laosuwan
ธีรวงศ์ เหล่าสุวรรณ
teerawong@msu.ac.th
teerawong@msu.ac.th
Keywords: เซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา, เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ,การประเมินรังสีแสงอาทิตย์
Rooftop solar cells geospatial technology Evaluation of solar radiation
Issue Date:  11
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this research was to assess the spatial solar radiation potential and to extract house roofs using geospatial technology and to assess the electric power potential of the roof area, focusing on large buildings in Kantharawichai District. To promote the solar power generation system installed on the roof. For the evaluation of solar radiation reflectance in Kantharawichai District and the construction area by random forest data classification, it was found that the first 3 sub-districts with the highest solar radiation reflectance were Si Suk and Kham Riang Sub-districts. As for the reflection of solar radiation in the building area, it was found that Tha Khon Yang sub-district and Kham Riang has the highest solar radiation reflectance. For the evaluation of solar radiation potential on the roof in Mahasarakham University area, it was found that the Physical Building, Faculty of Science Building, Building 1 and Faculty of Science Building 2 have the highest solar radiation value.
การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพความเข้มรังสีอาทิตย์เชิงพื้นที่ และ จำแนกหลังคาเรือนด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และเพื่อประเมินศักยภาพพลังงานไฟฟ้าบนพื้นที่หลังคาโดยเน้นที่อาคารขนาดใหญ่ ในเขตอำเภอกันทรวิชัย สำหรับส่งเสริมระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา สำหรับการประเมินค่าการสะท้อนรังสีแสงอาทิตย์ในพื้นที่อำเภอกันทรวิชัยและพื้นที่ปลูกสร้างจากการจำแนกข้อมูลด้วยวิธี Random Forest พบว่า 3 ตำบลแรกที่มีค่าการสะท้อนรังสีแสงอาทิตย์มากที่สุดคือ ตำบลศรีสุข และตำบลขามเรียง สำหรับการสะท้อนรังสีแสงอาทิตย์พื้นที่สิ่งปลูกสร้างพบว่าตำบลท่าขอนยาง และขามเรียงมีค่าการสะท้อนรังสีแสงอาทิตย์สูงสุด สำหรับการประเมินศักยภาพรังสีแสงอาทิตย์บนหลังคาในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหาสารคามพบว่า อาคารพละ อาคารคณะวิทยาศาสตร์ตึก 1และอาคารคณะวิทยาศาสตร์ตึก 2 มีค่าพลังงานรังสีแสงอาทิตย์สูงสุด
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2318
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010258003.pdf9.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.