Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2338
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Achariya Khammontri | en |
dc.contributor | อัจฉริยา คำมนตรี | th |
dc.contributor.advisor | Phamornpun Yurayat | en |
dc.contributor.advisor | ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T13:21:41Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T13:21:41Z | - |
dc.date.created | 2021 | |
dc.date.issued | 3/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2338 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) To develop learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques of Matthayomsuksa 5, in order to be consistent with the efficiency criteria 70/70. 2) To study the effect of problem-based learning with graphic organizer techniques of Matthayomsuksa 5 students. 2.1 Compare the effect of Physics Problem-Solving ability after study of students instructed by problem-based learning with graphic organizer techniques and to pass the criteria 70 percent. 2.2 Compare the effect of learning achievement after study of students instructed by problem-based learning with graphic organizer techniques and to pass the criteria 70 percent. The sample used in this study consisted of 1 classroom of Matthayomsuksa 5, 24 students at Mahachaipitayakhan School, Mueang District, Mahasarakham Province, in the second semester of the academic year of 2020, obtained using Purposive sampling. The instrument used in this study were 1) Observation form for teaching and learning management of Physics teacher. 2) Semi-structured interview. 3) Learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques. 4) Ability in physics problem-solving test. 5) Achievement test. The statistic used for analyzing data were Percentage, Mean and Standard Deviation. The results of the study were as follow : 1. Learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques that were including 6 steps : Determine the problem, Understand the problem, Research, Knowledge Synthesis, Summarize and evaluate the value of the answer and Presentation and evaluation. The efficiency of the plan for learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques were 77.74/75.28 2. The effect of problem-based learning with graphic organizer techniques of Matthayomsuksa 5 students. 2.1 The students learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques had physics problem-solving ability after the study showed that there was an average score of 69.13 or 76.81 as a percentage, which was higher than the criterion. 2.2 The students learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques had an achievement test after the study showed that there was an average score of 22.58 or 75.28 as a percentage, which was higher than the criterion. In conclusion, learning management by using problem-based learning with graphic organizer techniques has shown effectiveness and has influenced to develop ability in physics problem-solving and achievement test of target group. Therefore, the teacher can use this learning by applying in a suitable situation. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ความมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้แก่ 2.1 เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมหาชัยพิทยาคาร อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 24 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) แบบสังเกตการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนรายวิชาฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) 2) แบบสัมภาษณ์ แบบกึ่งโครงสร้าง 3) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม เรื่อง ไฟฟ้ากระแส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาเป็นแบบอัตนัย 5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้ากระแส เป็นแบบปรนัย สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยแบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิก รายวิชาฟิสิกส์(เพิ่มเติม) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 77.74/75.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ผลการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีดังนี้ 2.1 นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเท่ากับ 69.13 คิดเป็นร้อยละ 76.81 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2.2 นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.58 คิดเป็นร้อยละ 75.28 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด โดยสรุปการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิก สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้ ครูผู้สอนจึงสามารถนำการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จยิ่งขึ้นไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน ผังกราฟิก ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th |
dc.subject | problem-based learning graphic organizer techniques physics problem-solving achievement test | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | Development of Instructing Problem-Based Learning with Learning Graphic Organizer Techniques to Enhance Physics Problem-Solving and Learning Achievement of Mathayomsuksa 5 | en |
dc.title | การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Phamornpun Yurayat | en |
dc.contributor.coadvisor | ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pacharaporn.y@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | pacharaporn.y@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010552007.pdf | 3.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.