Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/236
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pensri Chittabut | en |
dc.contributor | เพ็ญศรี ชิตบุตร | th |
dc.contributor.advisor | Nattakant Akarapongpisak | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The College of Politics and Governance | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T03:07:28Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T03:07:28Z | - |
dc.date.issued | 21/8/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/236 | - |
dc.description | Master of Political Science Program in Politics and Governments (M.Pol.Sci.) | en |
dc.description | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study investigates the views towards "democracy" of the NGOs who work in the Northeast of Thailand (Isan), and explores the conditions under which those views were shaped. From 2006 to 2016, Thailand had witnessed a series of political conflicts and two coups. During that time, the NGOs in Thailand expressed their political views overtly and played important parts in major political movements. Their political stances could be related to diverse interpretations of ‘democracy’. Based on in-depth interviews, this study argues that when discussing democracy, the ‘Isan’ NGOs linked it with to prevailing concepts including rights, freedom, equality and the majority rule. However, groups of Isan NGOs perceived each concept differently. Some advocated liberal democracy whereas some held a populist view. Some groups expressed discontent against representative democracy and proposed for people’s ‘direct democracy’ in the form of social movements. Five factors including life experiences, age, media consumption, learning and interpersonal relations influenced perceptions on democracy of the Isan NGOs. | en |
dc.description.abstract | การศึกษา เรื่อง “มุมมองประชาธิปไตยของเอ็นจีโออีสานระหว่าง พ.ศ. 2549 – 2559” นี้มุ่งนำเสนอมุมมองต่อประชาธิปไตยและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อการรับรู้และการสร้างมุมมองดังกล่าวของเอ็นจีโออีสาน ระหว่าง พ.ศ.2549–2559 ในช่วงที่สังคมไทยเกิดความขัดแย้งและเกิดการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง เอ็นจีโอกลุ่มต่าง ๆ ออกมาแสดงจุดยืนทางการเมืองอย่างเปิดเผย ซึ่งการแสดงออกทางการเมืองเชื่อมโยงกับการอธิบายประชาธิปไตยที่แตกต่าง เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิง-ลึก (In-depth Interview) จากการศึกษาพบว่า โดยทั่วไปเอ็นจีโออีสานนิยามประชาธิปไตย โดยอ้างอิงคำหลัก ๆ ที่ใช้แทนคำว่า “ประชาธิปไตย” ในความหมายสากล ได้แก่ สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค ความเท่าเทียม และการเคารพมติเสียงข้างมากของสังคม อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ในรายละเอียดของการให้ความหมายเกี่ยวกับคำเหล่านี้ พบว่า เอ็นจีโออีสานแต่ละกลุ่มให้ความหมายคำเหล่านี้ต่างกัน บางกลุ่มเน้นความเป็น “เสรีนิยม” บางกลุ่มเน้นความเป็น “ประชานิยม” หรือบางกลุ่มไม่ไว้วางใจประชาธิปไตยแบบตัวแทน จึงเห็นว่าประชาชนต้องมีบทบาททางการเมืองโดยตรงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเคลื่อนไหวต่อต้านคัดค้านในรูปของขบวนการทางสังคม โดยมี 5 เงื่อนไขที่ส่งผลต่อการรับรู้และการสร้างมุมมองประชาธิปไตยในช่วงเวลาดังกล่าว แยกออกเป็น ประสบการณ์ ช่วงอายุ การเรียนรู้ การรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ประชาธิปไตย | th |
dc.subject | เอ็นจีโออีสาน | th |
dc.subject | Democracy | en |
dc.subject | Isan NGOs | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE ISAN NGOs' PERSPECTIVES ON DEMOCRACY (2006 – 2016) | en |
dc.title | มุมมองประชาธิปไตยของเอ็นจีโออีสาน ระหว่าง พ.ศ. 2549 – 2559 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The College of Politics and Governance |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56011380021.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.