Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSurisa Waisaenen
dc.contributorสุริสา ไวแสนth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-12-20T13:21:48Z-
dc.date.available2023-12-20T13:21:48Z-
dc.date.created2021
dc.date.issued27/8/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2374-
dc.description.abstract                        This study aimed to 1) study the current conditions, desirable conditions, and requirements for guideline development in order to enhance learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24, and 2) study guideline development for enhancing learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24. The phases of study were separated into two distinct levels. Phase 1 aimed to study the current conditions, desirable conditions, and requirements for guideline development to enhance learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24. The samples comprised 16 educational administrators and 311 teachers. The tools for collecting data were questionnaires. Statistics used to analyse data included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Priority of Need index. Phase 2 aimed to develop guidelines for enhancing learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24. Samples included 3 schools that have the best practices. The informants were 6 educational administrators and academic teachers. The tools used in this phase were structured interviews and a feasibility evaluation of guideline development for enhancing learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24. They were evaluated by 7 experts using a focus group. The statistics used to analyse data were mean and standard deviation.                         Results from the study present that:                           1. The results from the study of the current conditions concerning guideline development for enhancing learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24 showed that the overall level of current conditions was high (X̅ = 4.23) in every aspect. The overall level of desirable conditions for guideline development to enhance learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24 was also very high (X̅ = 4.66) in every aspect. The requirements for guideline development to enhance learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24, from the highest to lowest, were creative skills, communication skills, computer and technology skills, critical thinking skills, cooperation skills, skills to understand different cultures and different paradigms, and career skills, respectively.                         2. The results of guideline development for enhancing learning management skills in the 21st century among teachers at schools under the Secondary Education Service Area Office 24  show that the overall suitability was high (X̅ = 4.38) in every aspect, while the feasibility was very high (X̅ = 4.57) in every aspect.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 2) เพื่อศึกษาการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ดำเนินการวิจัยโดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 16 คน และครู จำนวน 311 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (Priority of Need index) ระยะที่ 2 เพื่อพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จากการศึกษาสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูวิชาการในโรงเรียน จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ด้วยวิธีการสนทนากลุ่มและประเมินการพัฒนาแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน                           ผลการวิจัยพบว่า                           1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.23) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ (X̅= 4.66) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน และลำดับความต้องการจำเป็นของการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปน้อย ได้แก่ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการสื่อสาร ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการร่วมมือ ทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ และทักษะอาชีพ ตามลำดับ                         2. ผลการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ในด้านความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.38) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนด้านความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅= 4.57) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้านth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectแนวทางเสริมสร้างทักษะth
dc.subjectLearning management skills in the 21st centuryen
dc.subjectGuideline for enhancing skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleGuidelines for the Development of Enhanced Learning Management Skills in the 21st Century among Teachers at Schools under Secondary Education Service Area Office 24en
dc.titleการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.coadvisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.emailadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586067.pdf12.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.