Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattamawan Pummaleeen
dc.contributorปัทมวรรณ พุ่มมาลีth
dc.contributor.advisorYada Thadanatthaphaken
dc.contributor.advisorญดา ธาดาณัฐภักดิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-12-20T13:21:51Z-
dc.date.available2023-12-20T13:21:51Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued24/6/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2389-
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to develop a guided activity based on the concept of contemplative education to develop emotional intelligence of students to be effective according to the 80/80 criterion. 2) To compare the development of individual emotional intelligence of students between pretest and posttest 3) To study the satisfaction towards the guidance activities based on the concept of contemplative education to develop emotional intelligence of students. The target group of the study were 33 Mathayomsuksa 1 students at Thanyapattanawit School. under the Office of Kalasin Secondary Educational Service Area. The research tools were 1) a learning management plan, a guided activity based on the concept of cognitive education to develop emotional intelligence, 2) an emotional intelligence test, and 3) Assessment questionnaire for students' satisfaction with the guidance activities based on the concept of cognitive education to develop emotional intelligence. The results showed that: 1) The efficiency of the guidance activities based on the concept of cognitive education to develop emotional intelligence was 81.06/80.61; 2) The index of effectiveness of the guidance activities based on the concept of cognitive education for developing emotional intelligence was 0.6691; and 3) the students had a high level of satisfaction with the guidance activities based on the concept of cognitive education to develop the emotional intelligence of grade 1 students at a high level.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาการทางด้านความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน(รายบุคคล) 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยกลุ่มเป้าหมายของการศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนธัญญาพัฒนวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ 2) แบบทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (Dependent Sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าประสิทธิภาพของการกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เท่ากับ 81.06/80.61 2) ดัชนีประสิทธิผลของการกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.6691 นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความฉลาดทางอารมณ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และ 3) นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อวิธีการกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectกิจกรรมแนะแนวth
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษาth
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th
dc.subjectGuidance Activitiesen
dc.subjectConcept of Contemplative Educationen
dc.subjectEmotional Intelligenceen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleDevelopment of Guiding Activities Based on The Concept of Contemplative Education to Develop Emotional Intelligence of Mathayomsuksa 1 Studentsen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorYada Thadanatthaphaken
dc.contributor.coadvisorญดา ธาดาณัฐภักดิ์th
dc.contributor.emailadvisorthanarat.s@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorthanarat.s@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010582016.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.