Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanuwat Sukhanen
dc.contributorภาณุวัตร สุขันธ์th
dc.contributor.advisorThanyalak Moonsuwanen
dc.contributor.advisorธัญลักษณ์ มูลสุสรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-12-20T15:57:39Z-
dc.date.available2023-12-20T15:57:39Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued7/9/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2498-
dc.description.abstract   Research on “Development of creative Isaan dance Department of Performing Arts Faculty of Fine and Applied Arts and Cultural Sciences Mahasarakham University” with the objective 1. To study the creation of works of traditional dance Department of Performing Arts Mahasarakham University 2. To study concepts, forms and development of creative works. indigenous dance Department of Performing Arts Mahasarakham University It is a qualitative research. There were research tools such as interview forms, etc. The sample group was a group of 6 experts. There were 9 creative process supervisors, 6 creative people, and 20 general public groups by collecting literary documents, interview forms, recordings, observations, etc. for content analysis.                                       The study found that the creation of works of traditional dance It is a condition for assessing the quality of students. There have been a total of 22 editions of works created from the academic year 2000 - 2020 with more than 200 performances created. which has clearly changed the concept, form and composition of the dance Until a variety of concepts were born, including conceptual frameworks under the name of the project for all 22 editions of the academic year. And all 19 types of inspiration, which can be classified into 5 forms of expression, such as 1) solo dance 2) group dance 3) Kiao dance 4) story-driven dance 5) Dance with a protagonist which can see changes from the development of the presentation style and ideas for creativity It is divided into 3 major phases: 1) the beginning of creativity, 2) the identity-finding era, and 3) the new interpretation of creativity.                                                                                                                                                                          The creation of performance works for 22 years has resulted in the development of creative knowledge. and create works that are valuable in all dimensions Using a variety of methods to experiment with the complete creation of creative works. Cover ideas and inspiration. Creative works are constantly evolving. in order to keep pace with progress Popular trends and social phenomena in each eraen
dc.description.abstract   งานวิจัยเรื่อง “พัฒนาการนาฏยศิลป์อีสานสร้างสรรค์ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม” มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการสร้างสรรค์ผลงานด้านนาฏยศิลป์พื้นเมือง ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อศึกษาแนวคิด รูปแบบ และพัฒนาการผลงานสร้างสรรค์ นาฏยศิลป์พื้นเมือง ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ อื่นๆ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 คน กลุ่มผู้ปฏิบัติ ผู้ควบคุมกระบวนการในการสร้างสรรค์จำนวน 9 คน ผู้สร้างสรรค์จำนวน 6 คน กลุ่มบุคคลทั่วไปจำนวน 20 คน โดยการเก็บรวบรวมเอกสาร วรรณกรรม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบสังเกต อื่นๆ มาวิเคราะห์แบบเชิงเนื้อหา           ผลการศึกษาพบว่า การสร้างสรรค์ผลงานด้านนาฏยศิลป์พื้นเมือง เป็นเงื่อนไขการประเมินคุณภาพของนิสิต ซึ่งมีการสร้างสรรค์ผลงานมาแล้วทั้งสิ้น 22 รุ่น นับตั้งแต่ปีการศึกษา 2543 - 2563 มีการสร้างสรรค์ผลงานมากกว่า 200 ชุดการแสดง โดยมีการกำหนดกรอบแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของแต่ละปีการศึกษาที่แตกต่างกันออกไปอย่างชัดเจน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงด้านแนวความคิด ด้านรูปแบบ และองค์ประกอบของการฟ้อนอย่างชัดเจน จนเกิดแนวความคิดที่หลากหลายทั้งกรอบแนวคิดภายใต้ชื่อโครงการทั้ง 22 รุ่นปีการศึกษา และแรงบันดาลใจทั้ง 19 ประเภท โดยสามารถจำแนกรูปแบบการแสดงออกได้ 5 รูปแบบ เช่น 1)ฟ้อนเดี่ยว 2)ฟ้อนหมู่ 3)ฟ้อนเกี้ยว 4)ฟ้อนแบบมีเรื่องราว 5)ฟ้อนแบบมีละครตัวเอก ซึ่งสามารถเห็นความเปลี่ยนแปลงจากพัฒนาการทางด้านรูปแบบการนำเสนอ และแนวความคิดในการสร้างสรรค์ โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) ยุคเริ่มต้นการสร้างสรรค์ 2) ยุคการหาอัตลักษณ์ความเป็นตัวตน และ 3) ยุคการตีความหมายใหม่ในการสร้างสรรค์           การสร้างสรรค์ผลงานด้านการแสดงทั้ง 22 ปี เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการสร้างสรรค์ และสร้างสรรค์ผลงานออกมาให้มีคุณค่าในทุกมิติ โดยใช้กลวิธีที่หลากหลายในการทดลองการประกอบสร้างผลงานสร้างสรรค์ให้สมบูรณ์ ครอบคลุมแนวความคิดและแรงบันดาลใจ ผลงานสร้างสรรค์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อสภาพความเจริญก้าวหน้า กระแสความนิยมและปรากฏการณ์สังคมในแต่ละยุคสมัย th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectพัฒนาการth
dc.subjectอีสานสร้างสรรค์th
dc.subjectรูปแบบ แนวคิดth
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectCreative Isaanen
dc.subjectForm and concepten
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreationen
dc.subject.classificationMusic and performing artsen
dc.titleThe development of creative Isan dances Department of Performing Arts Faculty of Fine – Applied Arts and Cultural Science Mahasarakham Universityen
dc.titleพัฒนาการนาฏยศิลป์อีสานสร้างสรรค์ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorThanyalak Moonsuwanen
dc.contributor.coadvisorธัญลักษณ์ มูลสุสรรณth
dc.contributor.emailadvisorthanyalak.moo@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorthanyalak.moo@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Fine and Applied Arts (M.F.A.)en
dc.description.degreenameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวัฒนธรรมและการออกแบบen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวัฒนธรรมและการออกแบบth
Appears in Collections:Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64012453005.pdf20.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.