Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWiparat Srakeawen
dc.contributorวิภารัตน์ สระแก้วth
dc.contributor.advisorTeeraporn Katisarten
dc.contributor.advisorธีรพร กทิศาสตร์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2024-02-28T09:57:57Z-
dc.date.available2024-02-28T09:57:57Z-
dc.date.created2020
dc.date.issued25/12/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2500-
dc.description.abstractDolichandrone serrulata has many reports of various properties used in herbal pharmacopoeia for treatment of diseases such as diarrhea, epilepsy, nourish the blood, and pain relief. The antioxidant activity study revealed that the Dolichandrone serrulate leaves have the most antioxidant activity, following by the branches, seeds and flowers. The objective of the present study are to 1) study the antioxidant activity of Dolichandrone serrulata extract, 2) study alpha-glucosidase inhibition activity from Dolichandrone serrulata and 3) study total phenolic  and  flavonoid contents of the Dolichandrone serrulata extract. three parts of Dolichandrone serrulata a including flowers, leaves and pods by testing the activity inhibition alpha-glucosidase  testing the activity for antioxidant  scavenging by DPPH, ABTS, FRAP method and analysis of the total phenolic and flavonoid contents.The results revealed that Dolichandrone serrulata  extracts from flowers, leaves and pods contained total phenolic and total flavonoids contents. The antioxidant activity of the three methods were statistically significant (P<0.05). Analysis of the phenolic compound contents gallic acid as  standard found that the aqueous pod extracts has the highest total phenolic contents (0.245 ± 0.020 mgGE/gEtx) Analysis  of the total flavonoid contents using qucrcetin as  standard aqueous pod extracts has the highest total flavonoid contents (0.1102+0.0033 mgQE/gEt). Antioxidant activity study by DPPH method using trolox and ascorbic as standard found that the aqueous leaf extracts has the highest antioxidant capacity (IC50 = 0.12 ± 0.020 mg / ml). Antioxidant activity study by ABTS method using trollox and vitamin C standard found that the aqueous leaf extracts the highest IC50 of  0.05 ± 0.006 mg / ml. Antioxidant activity study with FRAP method using trollox as standard found that the ethanol leaf extracts from Dolichandrone serrulata leaf has capacity to give electrons with the highest FRAP value  0.988 ± 0.236 mgTE/gEtx.study on the inhibitory activity of alpha -glucosidase using acabose as  standard found that the standard acabose and ethanol leaf extracts had similar, inhibition of alpha-glucosidase enzyme writhout significant difference at 0.05. The ethanol pod extract had the highest alpha-glucosidase inhibitory activity (IC50 of 0.041 ± 0.002 mg/ml). In conclusion, the aqueous pod extracts from Dolichandrone serrulata had the highest total phenolic and flavonoid contents. The aqueous leaf extracts has the highest antioxidant capacity by DPPH and ABTS methods.However, the ethanol leaf extracts had the highest antioxidant activity by FRAP assay. In addition, the ethanol pod extracts from this plant had the highest alpha –glucosidase inhibitory activity while those from other parts did not exhibit this activity. These findings revealed that the ethanol pod extracts inhibited alpha –glucosidase activity resulting in the digestion of starch into glucose and suggesting that glucose is not absorped into blood stream and not increase blood glucose levelen
dc.description.abstractแคนา (Dolichandrone serrulata ) มีรายงานสรรพคุณต่างๆ ที่ใช้ในตำรายาโบราณ เช่น แก้ท้องร่วง แก้โรคชัก บำรุงโลหิต แก้อาการปวด และจากรายงานการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่า ใบแคนามีฤทธิ์ของการต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด รองลงมาคือ กิ่ง ฝัก เมล็ดและดอกการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากแคนา ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดจากแคนา ศึกษาสารประกอบฟีนอลิกรวมและปริมาณสารฟลาโวนอยด์ของสารสกัดจากแคนาสกัดสารด้วยตัวทำละลายน้ำและเอทานอลจากแคนาทั้ง 3 ส่วน คือ ดอก ใบ และ ฝัก โดยทดสอบฤทธิ์ยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดสทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH ,ABTS,FRAP และวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิครวมและปริมาณสารฟลาโวนอยด์ ผลการทดลอง พบว่า สารสกัดจากแคนาจากส่วนดอก ใบและฝักมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม  สารฟลาโวนอยด์รวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระทั้ง 3 วิธีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 โดยการหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม ซึ่งใช้เป็นกรดแกลิกเป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารสกัดหยาบที่สกัดด้วยน้ำจากฝักมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมมากที่สุดเท่ากับ 0.245±0.020 mgGE/gEtx การหาปริมาณสารฟลาโวนอยด์โดยใช้เคอร์ซิตินเป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารสกัดฝักแคนาด้วยน้ำมีปริมาณสารฟลาโวนอยด์มากที่สุด เท่ากับ 0.1102+0.0033 mgQE/gEt การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH ซึ่งใช้ ทรอล็อก (Trolox ) และวิตามินซี (Ascorbic) เป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารสกัดหยาบจากใบที่สกัดด้วยน้ำสามารถยับยั้งอนุมูลอิสระได้สูงสุดโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.12±0.020 mg/ml การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี ABTS ซึ่งใช้ทรอล็อก  และวิตามินซีเป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารสกัดหยาบจากใบที่สกัดด้วยน้ำสามารถยับยั้งอนุมูลอิสระได้สูงสุดโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.05±0.006 mg/ml การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี FRAP ซึ่งใช้เป็นทรอล็อก เป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารสกัดหยาบที่สกัดด้วยเอทานอลจากใบแคนามีความสามารถในการให้อิเล็กตรอน มากที่สุดเท่ากับ 0.988±0.236 mgTE/gEtx การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดส ซึ่งใช้อะคาโบสเป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารมาตรฐานอะคาโบสกับใบที่สกัดด้วยเอทานอลสามารถการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยสารสกัดหยาบจากใบที่สกัดด้วยเอทานอลสามารถยับยั้งอนุมูลอิสระได้โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.041±0.002 mg/ml ส่วนสารสกัดที่สกัดด้วยน้ำและเอทานอลจากส่วนอื่นของแคนาไม่สามารถยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดส โดยสรุปแล้ว สารสกัดฝักแคนาด้วยน้ำมีปริมาณฟีนอลิกรวมและฟลาโวนอยด์รวมมากที่สุดสารสกัดดใบแคนาด้วยน้ำมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ ABTS มากที่สุด ในขณะที่สารสกัดใบแคนาด้วยเอทานอลมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสะด้วยวิธี FRAP มากที่สุด นอกจากนี้สารสกัดฝักแคนาด้วยเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสมากที่สุด โดยพบว่าสารสกัดหยาบจากฝักที่สกัดด้วยเอทานอลสามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสจึงไม่มีการย่อยแป้งเป็นน้ำตาลทำให้น้ำตาลกลูโคสไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดไม่เพิ่มสูงขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสารสกัดจากแคนาth
dc.subjectสารประกอบฟีนอลิครวมth
dc.subjectแอลฟากลูโคซิเดสth
dc.subjectวิธี DPPHth
dc.subjectวิธีABTSth
dc.subjectวิธีFRAPth
dc.subjectฟลาโวนอยด์th
dc.subjectDolichandrone serrulata extracten
dc.subjectα-Glucosidaseen
dc.subjectTotal phenolicen
dc.subjectDPPH assayen
dc.subjectABTS assayen
dc.subjectFRAP assayen
dc.subjectFlavonoiden
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.titleAntioxidant and α-glucosidase inhibitory activities of Dolichandrone serrulata  extracten
dc.titleฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดจากแคนาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTeeraporn Katisarten
dc.contributor.coadvisorธีรพร กทิศาสตร์th
dc.contributor.emailadvisortkatisart@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisortkatisart@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Biologyen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาชีววิทยาth
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010282005.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.