Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2501
Title: In Vitro Propagation and Antioxidant Activity of Globba globulifera Gagnep.
การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายขาว
Authors: Wipa Yaowachai
วิภา เยาวไชย
Piyaporn Saensouk
ปิยะพร แสนสุข
Mahasarakham University
Piyaporn Saensouk
ปิยะพร แสนสุข
piyaporn.sa@msu.ac.th
piyaporn.sa@msu.ac.th
Keywords: การขยายพันธุ์
ดีพีพีเอช
พืชวงศ์ขิง
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
Micropropagation
DPPH
Zingiberaceae
Bioactive compounds
Issue Date:  16
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: Currently, there is a decrease of Globba globulifera, which is due to its high susceptibility to pathogenic diseases, overexploitation and slow multiplication rate. The aim of this research is to study suitable concentrations of plant growth regulators for propagation of G. globulifera. Bioactive compounds were measured by total phenolic compounds (TPC), total flavonoind contents (TFC) and free radical scavenging activities (FRSA) for comparison of those from in vitro and natural conditions. Microshoots were cultured on solid and liquid MS medium supplemented with various concentrations of cytokinins (BA, Kinetin and TDZ) and auxins (NAA and IBA) for eight weeks. Antioxidant extraction from rhizomes, storage root, leaf and pseudostems by ultrasonic using 80% methanol (v/v) as a solvent. The best result for shoot induction was achieved when culturing the microshoot on MS medium with 5 mg/l Kinetin plus 1 mg/l NAA (6.50±0.50 shoots/explant). The plantlets were transplanted to pots in a greenhouse. All the planting material showed a 100% survival rate. The rhizomes of in vitro-derived plantlets showed the highest value of TPC (52.28±0.41 mg GAE/g crude extract) and FRSA (93.55±0.18%) and lowest of IC50 (0.46±0.002 mg/ml).
ปัจจุบันประชากรกระชายขาวมีจำนวนลดลงเนื่องจากมีการปนเปื้อนจากเชื้อโรค การลักลอบเก็บพืชจากสภาพธรรมชาติ และมีอัตราการขยายพันธุ์ต่ำ วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษาความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์กระชายขาวในหลอดทดลองและวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด (TPC) ปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์ทั้งหมด (TFC) และร้อยละการต้านอนุมูลอิสระดีพีพีเอช (FRSA) ของต้นกระชายขาวในสภาพธรรมชาติและในหลอดทดลอง โดยนำต้นอ่อนมาเพาะเลี้ยงในอาหารแข็งและเหลวสูตร MS ที่เติมฮอร์โมนกลุ่มไซโทไคนิน (BAP, Kinetin และ TDZ) และออกซิน (NAA และ IBA) ความเข้มข้นแตกต่างกัน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากเหง้า รากสะสมอาหาร ใบ และลำต้นเทียมด้วยวิธีอัลตราโซนิค โดยใช้ 80% เมทานอลเป็นตัวทำละลาย พบว่าอาหารสูตร MS ที่เติมฮอร์โมน Kinetin 5 มก/ล ร่วมกับ NAA 1 มก/ล มีจำนวนยอดเฉลี่ยสูงสุด (6.50±0.50 ยอด/ชิ้นส่วนพืช) และเมื่อย้ายปลูกต้นกระชายขาวในเรือนเพาะชำ พบว่ามีอัตราการรอดชีวิต 100% เมื่อวิเคราะห์หาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่าเหง้าของต้นกระชายขาวที่เพาะเลี้ยงในหลอดทดลองแล้วย้ายปลูกเป็นเวลา 1 ปี มีค่า TPC (52.28±0.41 mg GAE/g crude extract) และค่า FRSA (93.55±0.18%) สูงสุด และค่า IC50 ต่ำสุด (0.46±0.002 มก/มล) 
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2501
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010256004.pdf6.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.