Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKitti Onmaken
dc.contributorกิตติ อ่อนมากth
dc.contributor.advisorSahalaph Homwouttiwongen
dc.contributor.advisorสหลาภ หอมวุฒิวงศ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2024-08-28T11:40:09Z-
dc.date.available2024-08-28T11:40:09Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued17/10/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2528-
dc.description.abstractThis research is a study on the development of compressive strength of polymer mortar from bagasse ash mixed with aluminum scraps. In order the ratio of the Geopolymers that has the highest compressive strength and the best is important to study the different variables that have an influence on the development of the Geopolymer. In this research, 6 variables are defined as follows. One is the concentration of sodium hydroxide solution at 7.5, 10, 12.5 and 15 molars. The concentration that causes the geopolymer mortar from bagasse ash mixed with aluminum scraps have a high compressive strength which is at 10 molar. The second is the amount of aluminum scrap that is suitable for the compressive strength development of geopolymer mortar from bagasse ash mixed with aluminum scraps. From the test result of 0.04-0.06 percent, the maximum compressive strength. The optimum ratio of AL/BA to the development of geopolymers bagasse ash mixed with aluminum scraps. From the results, it is found that the ratio of AL/BA at 0.5BA percent gives the highest compressive strength. It is suitable for use in the production of geopolymer mortar, bagasse ash mixed with aluminum scraps. The fourth temperature for curing suitable for the development of polymer mortar from bagasse ash mixed with aluminum scraps. From the study was found that the optimum temperature with the highest power was at 80 degrees celsius. The fifth, NH/NS ratio suitable for the development of geopolymer mortar from bagasse ash mixed with aluminum scraps. From the results, it was found that the ratio of NH/NS at 55:45 and the amount of aluminum scraps 0.06 percent gave the maximum compressive strength of 556.98 kg/sq.cm.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาในเรื่องพัฒนากำลังอัดของจิโอโพสีเมอร์มอร์ต้าจากเถ้าชานอ้อยผสมเศษอะลูมิเนียมเพื่อหาปัจจัยที่จะใช้ในการออกแบบอัตราส่วนผสมของจิโอโพลีบอร์มอร์ต้าร์ดังกล่าวได้มีกำลังอัดสูงที่สุดและดีที่สุด จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนากำลังของจิโอโพลีเมอร์มอร์ต้าโดยงานวิจัยนี้ได้กำหนดตัวแปรที่เกี่ยวของจำนวน 6 ตัวแปรดังนี้ ตัวแปรที่หนึ่ง คือ ความเข้มข้นของสารถะลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ 7.5 10.0 12.5 และ 15 โมลาร์ ความเข้มข้นที่ทำให้จิโอโพลีมอร์มอร์ต้าจากเถ้าซานอ้อยผสมเศษอคูมิเนียมมีกำลังอัดสูงคือ ที่ 10 โมลาร์ ตัวแปรที่สอง คือ ปริมาณน้ำที่ใช้ผสมในผลการทตสอบ 5 6 7 และ 8 ซึ่งปริมาณของน้ำที่ทำให้จิโอโพลิเมอร์มอร์ต้ามีกำลังอัดที่ดีคือร้อยละ 5 ของน้ำหนักของเถ้าชานอ้อย ตัวแปรที่สาม คือปริมาณของเศษอลูมิเนียมที่เหมาะสมกับการพัฒนากำลังอัดของจิโอโพลิเมอร์มอต้าร์จากเถ้าซานอ้อยผสมเศษอดูมิเนียม-จากผลการทดสอบร้อยละ 0.0-0.06 ให้ค่ากำลังอัดสูงสุด ตัวแปรที่สี่ คืออัตราส่วนของ AL/8A ที่เหมาะสมกับการพัฒนาจิโอโพลีเมอร์มอต้าร์จากเถ้าซานอ้อยผสมเศษอยู่มิเนียม จากผลการศึกษาพบว่าอัตราส่วน AL/BA ร้อยละ 0.56A-ให้ค่ากำลังอัดสูงสุดดังนั้น AL/BAร้อยละ 0.56A จึงเหมาะสมกับการนำมาใช้ผลิตจิโอโพลิเมอร์มอร์ตาร์เถ้าชานอ้อยผสมเศษอลูมิเนียม-ตัวแปรที่ห้า"คือ อุณหภูมิสำหรับการบ่ม ที่เหมาะสมกับการพัฒนาจิโอโพลีเมอร์มอต้าร์จากเถ้าซานอ้อยผสมเศษอดูมิเนียม จากการศึกษาพบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมที่มีค่ากำลังสูงสุดคือที่อุณหภูมิ 80-100 องศาเซลเซียส ตัวแปรที่หก คือ อัตราส่วนของ N/NS ที่เหมาะสมกับการพัฒนาจีโอโพลีเมอร์มอต้าร์จากเถ้าซานอ้อยผสมเศษอลูมิเนียม จากผลการศึกษาพบว่าที่อัตราส่วนของ NH/NS อยู่ที่ช่วง 50:50 และ 55:45 ทั้งแปรผันกับปริมาณของเศษอลูมิเนียมร้อยละ 0.04-0.06 ให้ค่ากำลังอัดสูงสุด 556.98 กก/ตร.ชม.th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectจีโอโพลิเมอร์th
dc.subjectเถ้าชานอ้อยth
dc.subjectวัสดุเหลือทิ้งth
dc.subjectกำลังอัดth
dc.subjectGeopolymeren
dc.subjectBagasse ashen
dc.subjectWaste materialsen
dc.subjectCompressive strengthen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationConstructionen
dc.subject.classificationBuilding and civil engineeringen
dc.titleCompressive Strength of geopolymer produced from bagasse ash blended with aluminum wastesen
dc.titleการพัฒนากำลังอัดของจีโอโพลิเมอร์ที่ผลิตจากเถ้าชานอ้อยผสมเศษอะลูมิเนียมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSahalaph Homwouttiwongen
dc.contributor.coadvisorสหลาภ หอมวุฒิวงศ์th
dc.contributor.emailadvisorsahalaph.h@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsahalaph.h@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.description.degreenameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์en
dc.description.degreedisciplineสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์th
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010382005.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.