Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRattanaporn Chaloemsrien
dc.contributorรัตนาภรณ์ เฉลิมศรีth
dc.contributor.advisorAdisorn  Wongkongdechen
dc.contributor.advisorอดิศร วงศ์คงเดชth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:10:48Z-
dc.date.available2019-10-02T03:10:48Z-
dc.date.issued19/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/252-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of an action research was developing the forms of protecting the Iodine Deficiency Disorders of a female reproductive age. The participants included the group of a female reproductive age between 15 to 44 years old amount 87 and others relevant people amount 27. The research focused on the activities for developing the forms of protecting the Iodine Deficiency Disorders of a female reproductive age from Napho Sub-district. To use the method of planning a community based on Buddhism. It comprises suffering, origin of suffering, cessation of suffering, and the path to cessation of suffering. The data were analyzed by descriptive statistics. It comprises frequency, percentage, mean, and standard deviation. To Compare the different of mean within before and after managing the activity by using t-test and the data analyzed by qualitative research with content analysis. The results revealed that the procedure of the forms protecting the Iodine Deficiency Disorders of a female reproductive age from Napho Sub-district. It consists of 7 steps 1) To study community context and analyze the problems  2) To define the ways and solve the problems 3) To create the plans of an action / the project  4) To administrate the plans 5) Monitoring and Evaluation the plans  6) Results indicated that The forms of protecting the Iodine Deficiency Disorders of a female reproductive age consists of 4 activities as follows: 1) Promoting through Create a scene Center 2) To Instruct the information to a female reproductive age  3) To establish the Iodine Salt Funds 4) To check the consumption of the Iodine Salt The results showed that mean about the Iodine Deficiency Disorders, The attitude about the Iodine Deficiency Disorders, and treating about the consumption of the Iodine Salt is higher than managing the plans on levels 0.05 (p-value<0.05). In conclusion of the forms protecting the Iodine Deficiency Disorders of a female reproductive age from Napho Sub-district consists of 5 factors as follows: 1) supporting from the director 2) Using the Participatory Learning Process 3) Supporting the knowledges through varieties of the method 4) Follow-up and look through a female reproductive age in community 5) Evaluation of the process.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของสตรีวัยเจริญพันธุ์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น กลุ่มสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 15 - 44 ปี จำนวน 87 คน และผู้มีสวนเกี่ยวข้อง 27 คน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการวางแผนชุมชนภายใต้ หลักการเชิงพุทธ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติเชิงอนุมานเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม โดยใช้สถิติ Paired  t- test  และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการดำเนินงานรูปแบบการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของสตรีวัยเจริญพันธุ์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลนาโพธิ์ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาบริบทชุมชนและวิเคราะห์ปัญหา 2) การกำหนดแนวทางและหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ 3) การจัดทำแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 4) การนำแผนไปปฏิบัติ 5) การติดตามและประเมินผล 6) สรุปผลและเสนอแนวทางปรับปรุง/ยกระดับ การใช้รูปแบบการจัดทำแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วมโดยประยุกต์หลักการเชิงพุทธ ทำให้เกิดกิจกรรมรูปแบบใหม่ของตำบลในการการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของสตรีวัยเจริญพันธุ์ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่  1) กิจกรรมสื่อสารผ่านหอกระจายข่าว 2) จัดการเรียนรู้ให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ 3) จัดตั้งกองทุนเกลือเสริมไอโอดีนประจำตำบล 4) ตรวจประเมินการบริโภคเกลือไอโอดีทุกครัวเรือน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลหลังการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีน ทัศนคติเกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีน และการปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคไอโอดีน สูงกว่าก่อนการดำเนินกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของสตรีวัยเจริญพันธุ์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลนาโพธิ์ครั้งนี้ ประกอบด้วย 5 ปัจจัย ได้แก่ 1) การใช้กระบวนการเรียนรู้และจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง 2) การถ่ายทอดความรู้ถึงกลุ่มเป้าหมายผ่านวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย 3) การติดตามและค้นหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชน  4) การติดตามกำกับและประเมินผลสม่ำเสมอ 5) การสนับสนุนส่งเสริมจากผู้บริหารหน่วยงานth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectหญิงวัยเจริญพันธุ์th
dc.subjectการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนth
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนth
dc.subjectDeveloping the formsen
dc.subjectA female reproductive ageen
dc.subjectThe protecting of the Iodine Deficiency Disordersen
dc.subjectCommunity participationen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleModel Development of Preventing Iodine Deficiency Disorders Among Women of Reproductive Age with Community Participation, Na Pho Sub-district, Kut Rang District, Mahasarakham Province en
dc.titleการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011480027.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.