Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/254
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Issara Kulyanee | en |
dc.contributor | อิสระ กุลยะณี | th |
dc.contributor.advisor | Vorapoj Promasatayaprot | en |
dc.contributor.advisor | วรพจน์ พรหมสัตยพรต | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Public Health | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T03:10:49Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T03:10:49Z | - |
dc.date.issued | 5/11/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/254 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research study the model of waste management in Jumpa Village, Bongneu Subdistrict, Sawangdandin District, Sakon Nakhon Province. The sample group was divided into 2 groups. The first sample group is local people of 30 people and leader to health Assembly of 66 people. The research was participatory action research by conceptual framework for P-A-O-R. The application of health Assembly process as a tool in public policy process development for waste management to practice. The study duration was May 2017 to April 2018 Study tools were indepth interview, participant observation and field note. Statistics applied in data analysis were frequency, mean, percentage, standard deviation Results of this study were as follows; The application of health assembly process for waste management by activities as follows 1) Training workshop ; knowledge and practice of waste management. 2) Promote the participation in activities in waste management to local people. 3) Set up the waste banks. 4) Add garbage bin. Results After research; Has a waste management model in Jumpa Village, waste segregation, Developing a local fund for exchanging and buying recycled waste, add knowledge and public relations. garbage bin did not overflow, did not smell of garbage, reduce air pollution from fires, high satisfaction for Waste Management. Physical components of waste before the implementation were 23.01 kilograms /household/week and after the program implementation overall waste and all types were decrease to 3.73 kilograms /household/week (P-value <0.05) In conclusion, participatory action research by conceptual framework for P-A-O-R in The application of health Assembly of Wastes Management process. Implementation of a waste segregation program was appropriate in the context of that community could decrease volume solid waste and Continuous monitoring. The involvedagencies should support to implement this approach in developing and resolving the community problems to have better environmental quality in the future. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านจำปา ตำบลบงเหนือ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพ 30 คน และ กลุ่มวัดผลลัพธ์ 66 คน การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมดำเนินการตามกรอบแนวคิด P-A-O-R โดยประยุกต์ใช้กระบวนการสมัชชาสุขภาพเป็นเครื่องมือในการจัดการกับปัญหาหาขยะมูลฝอยเพื่อให้ได้แนวทางในการปฏิบัติร่วมกันในชุมชนและนำไปสู่การปฏิบัติ ดำเนินการระหว่างเดือนพฤษภาคม 2560 ถึง เมษายน 2561 เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบประเมินความพึงพอใจ แบบสำรวจผลการดำเนินงาน และแบบบันทึกภาคสนาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า เมื่อนำกระบวนการสมัชชาสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชนทำให้ได้กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาร่วมกันดังนี้ 1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย 2) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย 3) กิจกรรมจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล และ 4) กิจกรรมเพิ่มถังขยะในชุมชน หลังการดำเนินงานวิจัยพบว่า มีการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรม มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ประชาชนนำขยะรีไซเคิลไปขายให้ธนาคารขยะชุมชน มีการให้ความรู้และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลทำให้ไม่พบปัญหาขยะล้นถัง ไม่พบปัญหาขยะมูลฝอยตลอดสองฝั่งถนน ไม่พบปัญหาขยะในถังขยะส่งกลิ่นรบกวน การเผาทำลายลดน้อยลง ประชาชนกลุ่มวัดผลลัพธ์มีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับมากและปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือนเฉลี่ยใน 1 สัปดาห์ลดลงจาก 23.01 กก./ครัวเรือน/สัปดาห์ เหลือเพียง 3.73 กก./ครัวเรือน/สัปดาห์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสรุปการดำเนินงานในจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมตามกรอบแนวคิด P-A-O-R โดยประยุกต์ใช้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ ทำให้เกิดรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และเป็นรูปธรรมที่ในการคัดแยกขยะมูลฝอยซึ่งเกิดจากความคิดของคนในชุมชนและมีการติดตามอย่างต่อเนื่องทำให้ขยะมูลฝอยลดลง นอกจากนั้นแล้วหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุนนำแนวคิดที่ได้ นำไปพัฒนาและนำไปแก้ไขปัญหาของชุมชนอื่นๆ ต่อไปเพื่อให้ได้สิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นในอนาคต | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | สมัชชาสุขภาพ | th |
dc.subject | การจัดการขยะ | th |
dc.subject | รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย | th |
dc.subject | ขยะมูลฝอย | th |
dc.subject | Health Assembly | en |
dc.subject | Wastes Management | en |
dc.subject | The Model of Wastes Management | en |
dc.subject | Waste | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.title | The Model of Wastes Management in Jumpa Village, Bongneu Sub-district, Sawangdandin district, Sakon Nakhon Province | en |
dc.title | รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยหมู่บ้านจำปา ตำบลบงเหนือ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58031480005.pdf | 4.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.