Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/255
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Janruthai Charoensri | en |
dc.contributor | เจนฤทัย เจริญศรี | th |
dc.contributor.advisor | Wisit Thongkum | en |
dc.contributor.advisor | วิศิษฎ์ ทองคำ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Public Health | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T03:10:49Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T03:10:49Z | - |
dc.date.issued | 2/10/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/255 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | Household waste is a significant community problem, and there is a tendency to increase. The action research aimed to study the solid waste management process by using community participation in Baan Khumnangroultai, Kamnamsab Sub-district, Warinchamrab District, Ubonratchathani Province. Study by a selection of community leaders and household representatives of 40 people. The data collected was both quantitatively and qualitatively. Using the questionnaire, informal interview and observation. The analysis of quantitative data using descriptive statistics, the frequency, percentage, mean, standard deviation and Inferential statistics are paired simple t-test and content analysis for qualitative data. The study results found unsystematic waste management and lack of community participation. Cooperation with the community to manage 5 steps thus 1) Analyze and collection of data 2) Operation plan meeting 3) Perform planned operations 4) Observations and 5) Reflecting lessons learned. Operating results after implementation that knowledge, practical and participation of targets group change for the better statistically significant (p-value<0.05). This process resulted in a decrease of community solid waste of 60 percent, and has a good management system which caused the community to cooperate in all operations. In summary, the key success factor in this is 1) Creating a participation focused by the community management from the start. Since the Recognition and understanding of problems, jointly define common guidelines and methods of management and 2) Sustainable development by establishing a demonstration and learning center in the area to provide a forum and community center for continuous improvement. | en |
dc.description.abstract | มูลฝอยจากครัวเรือนเป็นปัญหาของชุมชนที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดการมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านคำนางรวยใต้ ตำบลคำน้ำแซบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทำการศึกษาโดยการคัดเลือกกลุ่มผู้นำชุมชนและตัวแทนครัวเรือน จำนวน 40 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ และแบบสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ Paired sample t-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า มีการจัดการมูลฝอยที่ไม่เป็นระบบและขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน จึงได้ร่วมมือกับชุมชนในการจัดการ 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์และเก็บรวมรวมข้อมูล 2) ประชุมจัดทำแผนในชุมชน 3) ดำเนินงานตามแผน 4) สังเกตการณ์ และ 5) ถอดบทเรียนสะท้อนผล ผลการดำเนินงานภายหลังการดำเนินการ พบว่า ความรู้ การปฏิบัติ และการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายเปลี่ยนแปลงดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value< 0.05) กระบวนการดำเนินงานครั้งนี้ส่งผลให้จำนวนมูลฝอยในชุมชนลดลง ร้อยละ 60 และมีระบบการจัดการที่ดีที่เกิดจากชุมชนร่วมมือและเป็นเจ้าของในการดำเนินงานทั้งหมดโดยสรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จในครั้งนี้ คือ 1) การสร้างการมีส่วนร่วมที่เน้นการจัดการโดยชุมชนตั้งแต่เริ่มต้น ตั้งแต่การรับรู้และเข้าใจปัญหา ร่วมกันกำหนดแนวทางและวิธีการจัดการร่วมกัน และ 2) การพัฒนาความยั่งยืนด้วยการจัดตั้งศูนย์สาธิตและการเรียนรู้ในพื้นที่เพื่อเป็นเวทีและศูนย์กลางของชุมชนในการพัฒนาความร่วมมืออย่างต่อเนื่องต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | th |
dc.subject | การมีส่วนร่วมกับชุมชน | th |
dc.subject | กระบวนการจัดการมูลฝอย | th |
dc.subject | Action research | en |
dc.subject | Community Participation | en |
dc.subject | Solid Waste Management Process | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.title | Solid Waste Management Process by Using Community Participation Baan Khumnangroultai, Kamnamsab Sub-district, Warinchamrab District, Ubonratchathani Province | en |
dc.title | กระบวนการจัดการมูลฝอย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านคำนางรวยใต้ ตำบลคำน้ำแซบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58051480003.pdf | 7.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.