Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThuksanai Pussaduen
dc.contributorทักษนัย พัศดุth
dc.contributor.advisorTerdsak Promaraken
dc.contributor.advisorเทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:10:50Z-
dc.date.available2019-10-02T03:10:50Z-
dc.date.issued5/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/260-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractCommunity health literacy development is said to be a potential process in preventing liver flukes in the community. This participatory action research aimed at studying the Community Health Literacy Developing Process on Liver Fluke Prevention in Yot Kaeng, Namon District, Kalasin Province. A total of 263 samples consisting of community leaders, health officials, and community people were purposively selected for the study. Both qualitative and quantitative data were collected during February-June, 2018. Descriptive statistics and inferential statistics such as Paired Simple t-test were employed for data analyses. The research found that an eight-stage community health literacy development process; 1) Area and situation analysis, 2) Action plan setting, 3)Training program and campaigns program, 4) Community agenda, 5) Community network development, 6) Followed-up and community supports, 7) Evaluation, and 8) Community learning forum. After the implementation, the mean scores of roles, health literacy, participation, and satisfaction were significantly increased (p-value < 0.05) at 0.05 level of significance and SKILLS Model (Situation Analysis, Knowledge, Information, Legal, Learning and Summarization) was developed for behavior modification. In conclusion, key successful factors in community health literacy development process were HLC Model (Harmony, Leadership and Connection) in behavior modification.en
dc.description.abstractการพัฒนาชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของชุมชน ตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธ์ุ เป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในชุมชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในชุมชน ตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มเป้าหมายสุ่มคัดเลือกจากผู้มีส่วนได้ส่วนเกี่ยวข้อง คือ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 263 คน รวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired Simple t-test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา                ผลจากการศึกษา พบว่า กระบวนการพัฒนาครั้งนี้มี 8 ขั้นตอน ได้แก่ 1) วิเคราะห์บริบทของพื้นที่และสถานการณ์ 2) การจัดทำแผนปฏิบัติการ 3) การให้ความรู้และณรงค์ป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับผ่านสื่อบทเพลง 4) การกำหนดมาตรการชุมชน 5) การสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย 6) การติดตาม นิเทศงาน และสนับสนุนกิจกรรม 7) การประเมินผลการดำเนินงาน 8) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ผลการพัฒนาเมื่อประเมินภายหลังการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับค่าเฉลี่ยด้านบทบาทหน้าที่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจต่อมาตรการป้องกันโรคเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.05) และค้นพบนวัตกรรมเพื่อการป้องกันโรคในพื้นที่และแนวทางเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยได้รูปแบบการพัฒนาเบื้องต้นที่เรียกว่า SKILLS โดยจุดเด่นของกระบวนการนี้ คือ การที่ชุมชนมีการสื่อสารข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง (Information: I) เป็นการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการสื่อสาร บอกต่อแก่บุคคลอื่นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ           โดยสรุป ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ คือ HLC ประกอบด้วย H: Harmony (ความสามัคคีของคนในชุมชน)  L: Leadership (ความเป็นผู้นำ) และ C: Connection (การเชื่อมต่อระหว่างภาคีเครือข่าย) ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพth
dc.subjectโรคพยาธิใบไม้ตับth
dc.subjectการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมth
dc.subjectHealth Literacy Communityen
dc.subjectLiver Flukesen
dc.subjectBehavior Modificationen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleCommunity Health Literacy Developing Process on Liver Fluke Prevention among People in Yot Kaeng Sub District Namon District Kalasin Provinceen
dc.titleกระบวนการพัฒนาชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของชุมชน ตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011480004.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.