Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYanapat Chaloeisuken
dc.contributorญาณพัฒน์ เฉลยสุขth
dc.contributor.advisorAdisak Singseewoen
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สิงห์สีโวth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-01-03T16:35:10Z-
dc.date.available2025-01-03T16:35:10Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued30/4/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2614-
dc.description.abstractThis research aimed to develop a training manual for forest reservation, using the king’s philosophy as the main theoretical framework, to have the  efficiency index at the 80/80 specified criterion and to examine and compare the knowledge and attitude of the participants before and after the training lessons using the developed manual.  The sample group included 30 villagers living near the Nong Khu and Na Doon national reserved forests, Nakha Subdistrict, Wapi Pathum District, Maha Sarakham Province, selected by the purposive sampling technique. The research instruments consisted of the developed training manual, titled “King’s Philosophy and Forest Reservation,” a knowledge test on the application of the king’s philosophy for forest reservation, and an attitude test on the application of the king’s philosophy for forest reservation. The statistics used included frequency, percentage, mean, and standard deviation and the t-test and F-test (One-way ANOVA) were used to test the hypothesizes. The results revealed that the developed manual’s efficiency index was 85.42/81.80, which was higher than the specified criterion of 80/80. The effectiveness index of the manual was 0.6623. This means that the training manual significantly helped increase the participants’ knowledge on the application of the king’s philosophy for forest reservation and the percentage statistic had emphasized that 96.18% of the participants gained more knowledge. The participants’ attitude towards the application of the king’s philosophy for forest reservation was significantly higher after the training at the significance level of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคู่มือฝึกอบรม การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้สำหรับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหนองคูและป่านาดูน ตำบลนาข่า อำเภอวาปีปทุม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ ก่อนและหลังการฝึกอบรม กลุ่มตัวย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ชาวบ้านที่อาศัยอยู่รอบพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติหนองคู - นาดูน ตำบลนาข่า อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  คู่มือฝึกอบรม เรื่อง ศาสตร์พระราชากับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ศาสตร์พระราชากับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ แบบวัดทัศนคติ เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ศาสตร์พระราชากับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t-test, F-test (One-way ANOVA) 1. ผลการศึกษา พบว่า คู่มือการฝึกอบรม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.42/81.80 ค่าดัชนีประสิทธิผลของ การพัฒนาคู่มือฝึกอบรม การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มีค่าเท่ากับ 0.6623 หมายความว่า ชาวบ้านมีความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เพิ่มขึ้นและส่งผลให้ชาวบ้านมีความก้าวหน้าในการฝึกอบรมเพิ่มขึ้นหลังจากการใช้แผนการสอนร้อยละ 96.18  2. ชาวบ้านมีความรู้และทัศนคติต่อ การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ หลังการฝึกอบรมสูงก่อนฝึกอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05    th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาคู่มือฝึกอบรมth
dc.subjectความรู้การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้th
dc.subjectทัศนคติต่อการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้th
dc.subjecttraining manualsen
dc.subjectking’s philosophy forest reservationen
dc.subjectknowledge and attitiudeen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTraining Development Science of the king Bumibol Adulyadej with Forest resources Conservation For the area of ​​Nong Khu National Forest and Na Dun Forest, Tumbol Na Kha Aempho Wapi Pathum  Maha Sarakham.en
dc.titleการพัฒนาคู่มือฝึกอบรม การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชากับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ สำหรับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าหนองคูและป่านาดูน ตำบลนาข่า อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorAdisak Singseewoen
dc.contributor.coadvisorอดิศักดิ์ สิงห์สีโวth
dc.contributor.emailadvisoradisak.s@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisoradisak.s@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineสาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษาen
dc.description.degreedisciplineสาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Environment and Resource Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61011750002.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.