Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChinnapud Prompanen
dc.contributorชินณพัฒน์ พรมพันธ์th
dc.contributor.advisorSantisith Khiewkhernen
dc.contributor.advisorสันติสิทธิ์ เขียวเขินth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:10:51Z-
dc.date.available2019-10-02T03:10:51Z-
dc.date.issued21/11/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/264-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi – experimental research aimed to study the effect of behavior modification on self learning based management program to improve behavior control of hypertension patient in Noen Yang Sub-district, Kham Muang District, Kalasin Province. The 90 cases of this study used sample random techniques by simple random sampling and were divided into two groups. The 45 cases of an experimental group received standard care and the activity according to the behavior modification on self learning based management program of hypertensive patients and 45 patients were conducted as a standard care. The data collection processes were used questionnaire before and after experiments. The research period was 12 weeks. The data analyses descriptive statistics consisted of general data and history of illness used were percentage, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test. Compare the proportion of blood pressure levels analyses used was McNemar and Z-test for proportion. The study revealed that after the intervention, the experimental group had mean scores of knowledge, self-efficacy ,outcome expected in practice and  behavior control of hypertension increased more than both of before intervention and the comparison group had been statistically significantly at 0.05, and blood pressure control after the intervention, The experimental group had better control of hypertension than before the intervention and more than the comparison group statistically significant at 0.05 In conclusion, the key success factors of this study was an access directly to the Hypertension patients, through 4 self learning based management such as the basic of food consumption, exercise behavior, stress management, taking medication and check appointment, Including sharing experiences from the role model have experienced good self-care. This leads to learning from practice and confidence in changing behavior. The results of the experimental group to be behavior control of hypertension and blood pressure control can be achieved.en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ฐานการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขตตำบลเนินยาง อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างที่วิจัยได้จากการสุ่มอย่างง่าย คัดเลือกคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 90 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 45 คน ซึ่งกลุ่มทดลองได้รับการบริการปกติและได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ฐานการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการบริการปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและวัดความดันโลหิตทั้งก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ระยะเวลาดำเนินการวิจัยทั้งหมด 12 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและประวัติการเจ็บป่วยโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม วิเคราะห์ด้วยสถิติ Paired t-test และ Independent  t-test เปรียบเทียบสัดส่วนการควบคุมความดันโลหิตวิเคราะห์ด้วย สถิติ McNemar และ Z-test for proportion กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังถึงผลลัพธ์การปฏิบัติตัวและพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 และการควบคุมความดันโลหิตหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดีมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสรุป ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการวิจัยครั้งนี้คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้การเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองผ่านฐานกิจกรรม 4 อย่าง คือ ฐานการบริโภคอาหาร ฐานการออกกำลังกาย ฐานการจัดการความเครียด และฐานการรับประทานยาและมาตรวจตามนัด รวมถึงการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบที่เคยผ่านประสบการณ์การดูแลตนเองที่ดี ซึ่งทำให้เกิดการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติและเกิดความมั่นใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น ส่งผลให้มีพฤติกรรมการการควบคุมความดันโลหิตและสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเป้าหมายth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectฐานการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองth
dc.subjectพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตสูงth
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectSelf Learning Based Managementen
dc.subjectBehavior control of hypertensionen
dc.subjectHypertension patienten
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Effect of Behavior Modification on Self Learning Based Management Program to improve Behavior Control of Hypertension patient with hypertension in , Noen Yang Sub-district, Kham Muang District, Kalasin Province.en
dc.titleผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ฐานการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขตตำบลเนินยาง อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011480015.pdf8.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.