Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPongpipat Jongpengklangen
dc.contributorพงษ์พิพัฒน์ จงเพ็งกลางth
dc.contributor.advisorSantisith Khlewkhernen
dc.contributor.advisorสันติสิทธิ์ เขียวเขินth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:10:51Z-
dc.date.available2019-10-02T03:10:51Z-
dc.date.issued4/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/265-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis study is the randomized controlled trial research (RCT), aimed to study effects of Thai yoga stretching program on back muscle stiffness in patients of Chalermprakiat hospital, Chalermprakiat district, Buriram province which conducted during  January -May 2018. The samples were categorized into two groups, the experimental group was 37 samples and the control group was 46 samples. The experimental group was treated and cure with the 5 Thai yoga stretches (low back pain, back & knee pain, low back pain, low abdominal pain & scrotal distension, and shoulder & hip discomfort) for 6 minutes in each stretches, and both two groups was delivered by the royal masseur and the compress for 45 minutes and 15 minutes, respectively. The data were collected from questionnaires. The frequency, percentage, means, standard deviation, median, min-max, Paired sample t Test and Independent sample t Test were calculated for statistical analysis at 0.05 level of significance. The result represented that the sample of both groups showed mean scores of back muscle pain lower than before treatment. Hence, back muscle stretch was significantly higher than before treatment (p<0.001). The pain score of experimental group lower than control group, and the back muscle stretch of the experimental group was significantly higher than the control group (p<0.05). In conclusion, this care model was significantly result than each another.en
dc.description.abstractการวิจัยทดลองแบบสุ่มมีกลุ่มควบคุม (RCT) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการบำบัดโดยโปรแกรมฤาษีดัดตน ต่อระดับความปวดหลังส่วนล่างและความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อหลัง ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหลังตึง ในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 37 คน และกลุ่มควบคุม 46 คน เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ เดือนมกราคม - พฤษภาคม 2561 กลุ่มทดลองได้รับการบำบัดโดยโปรแกรมฤาษีดัดตน คือ การยืดกล้ามเนื้อท่าฤาษีดัดตน 5 ท่า (ท่าแก้ลมเอว, ท่าแก้ลมสันหลังและเข่า, ท่าแก้ลมปัศฆาฏในเอว, ท่าแก้กร่อน และท่าแก้ไหล่สะโพกขัด) ท่าละ 6 นาที และทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการนวดแบบราชสำนัก 45 นาที และประคบสมุนไพร 15 นาที เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด-สูงสุด และวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยด้วยสถิติ Paired sample t-test และ Independent sample t-test ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มมีระดับความปวดหลังส่วนล่างลดลง และความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังเพิ่มขึ้นภายหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ระดับความปวดของกลุ่มทดลองลดลงน้อยกว่ากลุ่มควบคุม และความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังภายหลังการทดลองของกลุ่มทดลองเพิ่มสูงขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยสรุป รูปแบบการบำบัดดังกล่าวมีผลต่อการรักษาที่ดีกว่าth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectฤาษีดัดตนth
dc.subjectผู้ป่วยกล้ามเนื้อหลังตึงth
dc.subjectอาการปวดหลังth
dc.subjectThai yoga stretchingen
dc.subjectback muscle stiffnessen
dc.subjectlow back painen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleEffects of Thai Yoga Stretching Program on Back Muscle Stiffness in Patients of Chalermprakiat Hospital, Chalermprakiat District, Buriram Provinceen
dc.titleผลของการบำบัดโดยโปรแกรมฤาษีดัดตน ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหลังตึง ของโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011480016.pdf8.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.