Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2765
Title: The Development Of Learning Activities Using Argument-driven InQuiry Instruction Model (ADI) to Enhance Scientific Reasoning Ability In The Topic Genetic Inheritance For Grade 10 Students.
การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เพื่อส่งเสริมความสามารถการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Authors: Narissara Maharist
นริศรา มหาฤทธิ์
Kanyarat Sonsupap
กันยารัตน์ สอนสุภาพ
Mahasarakham University
Kanyarat Sonsupap
กันยารัตน์ สอนสุภาพ
kanyarat.s@msu.ac.th
kanyarat.s@msu.ac.th
Keywords: การเรียนรู้แบบสืบเสาะ
กลวิธีการโต้แย้ง
ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์
Inquiry-based Learning
Argument-Driven Inquiry
Scientific reasoning
Issue Date:  18
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research were 1) to develop learning activities based on Argument-Driven Inquiry with a required efficiency of 70/70 and 2) to compare student’s scientific reasoning ability with 70 percent criteria. The sample used in this study were 39 students of grade 10 in the 2nd semester of  academic year 2023 at Yangtaladwittayakarn School. The research instruments included 1) the lesson plans in the topic of Evolution 2) the scientific reasoning test and 3) the achievement test. Statistics used in this study consist of percentage, mean, standard deviation and t-test (One sample t-test). The results were as follows: 1) The learning activities based on Argument-Driven Inquiry with a required efficiency (E1/E2) of 70/70 was 75.08/71.718 2) Students who had been learning using activities based on Argument-Driven Inquiry had higher scientific reasoning ability than 70 percent at a statistically significant of .05 level
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง วิวัฒนาการ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ 70/70 2) เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง วิวัฒนาการ เทียบเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร จำนวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจันได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิวัฒนาการ 2)แบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติการทดสอบที (One sample t-test) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 75.08/71.718 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง มีความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2765
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556008.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.