Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/276
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatcharanon Sangmuennaen
dc.contributorวัชรานนท์ สังข์หมื่นนาth
dc.contributor.advisorNarongruch Woramitmaitreeen
dc.contributor.advisorณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:22:35Z-
dc.date.available2019-10-02T03:22:35Z-
dc.date.issued8/11/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/276-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractA Study of Hucky Eichelmann’s Techniques and Chords Arrangement of Classical Guitar. The aim is to study 1) the history and specific musical work of Hucky Eichelmann’s 2) techniques and 3) chords arrangement of classical guitar. The analysis of western music theory, the techniques, and the chords arrangement results that Hucky Eichelmann has adapted ASEAN music to composing and arranging classical guitar. Most melodies are improved in Sequence and repeated in every song. The time signatures used are 3/4 and 4/4, and there is a use of the triplets to make music more interesting. There are eleven techniques of playing the classical guitar, 1) Arpeggiation 2) Natural Harmonic 3) Strumming 4) Rasqueado 5) Golpe 6) Legato 7) Vibrato 8) Grace note 9) Tremolo 10) Hammer On and Pull off, and 11) Drumming. The most popular techniques are Natural Harmonic and Rasqueado. In this album, there are three techniques used; 1) Standard Tune (from 6th string to 1st string, E A D G B E), 2) Open Tune (chord Em, E B E G B E), and 3) Drop (6th string to 1st string is tuned as D A D G B E) To arrange chords, there are 3 main chords used: I, IV and V. And there are seven techniques of classical guitar chord arrangement; 1) Melody and Accompaniment 2) Counter Melody 3) Interval Texture 4) Bass Line Melody 5) Pedal Tone 6) Arpeggio Texture and 7) Chromatic Harmony. It results that Interval Texture is used the most, and Bass Line Melody comes second in use.en
dc.description.abstract  การศึกษาเทคนิคบรรเลงและการเรียบเรียงเสียงประสานสำหรับกีตาร์คลาสสิคของฮักกี้ ไอเคิลมานน์ กรณีศึกษา: อัลบั้มอาเซียนกีตาร์  โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบเชิงคุณภาพ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะเฉพาะทางดนตรีของฮักกี้ ไอเคิลมานน์ 2) เทคนิคการบรรเลงกีตาร์คลาสสิคของฮักกี้ ไอเคิลมานน์ และ 3) การเรียบเรียงเสียงประสานสำหรับกีตาร์คลาสสิคของฮักกี้ ไอเคิลมานน์  ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะเฉพาะทางดนตรีของฮักกี้ ไอเคิลมานน์ คือ ใช้ทำนองบทเพลงของภูมิภาคในอาเซียน  มาเป็นวัตถุดิบสำคัญ ในการประพันธ์และการเรียบเรียงเสียงประสาน ให้เป็นแบบฉบับของกีตาร์คลาสสิค ทำนองส่วนมากใช้การพัฒนาทำนองแบบซีเคว้น (Sequene) มีการซ้ำทำนองทุกเพลง ใช้อัตราจังหวะธรรมดาคือ 3/4 และ 4/4  และมีการใช้กลุ่มโน้ต 3 พยางค์ เพื่อเพิ่มสีสันจังหวะของบทเพลง เทคนิคการบรรเลงกีตาร์คลาสสิค พบทั้งหมดอยู่ 11 ชนิด คือ  1) การดีดแบบกรีดสาย (Arpeggiation) 2) ฮาร์โมนิคแท้ (Natural Harmonic) 3) สตรัมมิ่ง (Strumming) 4) การกวาดสาย (Rasqueado) 5) โกลป (Golpe) 6) เลอกาโต (Legato)  7) การสั่นสาย (Vibrato) 8) โน้ตประดับ (Grace note) 9) เทรโมโล (Tremolo) 10) แฮมเมอร์ออน (Hammer On) และพลูอ๊อฟ (Pull off) 11) การเลียนเสียงกลอง  เทคนิคที่ใช้มากที่สุดคือ เทคนิคฮาร์โมนิคแท้ (Natural Harmonic) และเทคนิคการกวาดสาย (Rasqueado) ในอัลบั้มอาเซียนกีตาร์นี้ ใช้เทคนิคการตั้งสายอยู่ 3 แบบ คือ 1) การตั้งสายแบบมาตรฐาน โดยเรียงจากสาย 6 ไปยังสาย 1 คือ E A D G B E 2) การตั้งสายแบบเปิดสาย (Open Tune) ให้เป็นคอร์ด Em คือ E B E G B E  และ 3) การตั้งสายแบบปรับลดเสียง (Drop = D) ในสาย 6 ให้เป็น D A D G B E   การเรียบเรียงเสียงประสาน พบว่ามีการใช้คอร์ดหลัก I  IV  V และใช้เทคนิคการเรียบเรียงเสียงประสานสำหรับกีตาร์อยู่ 7 ชนิด คือ  1) การใช้ทำนองหลักกับแนวบรรเลงประกอบ (Melody and Accompaniment) 2) การใช้ทำนองรอง (Counter Melody) 3) การประสานทำนองด้วยขั้นคู่ (Interval Texture) 4) การใช้เบสบรรเลงทำนอง (Bass Line Melody) 5) การใช้โน้ตเสียงค้าง (Pedal Tone) 6) การใช้พื้นผิวแบบการกระจายคอร์ด (Arpeggio Texture) 7) การใช้คอร์ดแบบโครมาติค (Chromatic Harmony) การเรียบเรียงประสานสำหรับกีตาร์คลาสสิค พบว่า มีการประสานทำนองด้วยขั้นคู่ (Interval Texture) มากที่สุด และ การใช้เบสบรรเลงทำนอง (Bass Line Melody) รองลงมา  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเทคนิคการบรรเลงกีตาร์คลาสสิคth
dc.subjectการเรียบเรียงเสียงประสานสำหรับกีตาร์คลาสสิคth
dc.subjectTechniques of Classical Guitaren
dc.subjectArrangement of Classical Guitaren
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTechniques and Arrangements for Classical Guitar by Hucky Eichelmann : A Case Study of The ASEAN Guitar Albumen
dc.titleเทคนิคการบรรเลงและการเรียบเรียงเสียงประสานสำหรับกีตาร์คลาสสิคของฮักกี้ ไอเคิลมานน์ กรณีศึกษา: อัลบั้มอาเซียนกีตาร์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57012080004.pdf16.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.