Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChatchawit Inthraramen
dc.contributorฌัชวิทย์ อินทรารามth
dc.contributor.advisorManit Asanoken
dc.contributor.advisorมานิตย์ อาษานอกth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:00Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:00Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued22/2/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2777-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) design and develop web-based instruction in problem-based learning (PBL) principles to enhance problem-solving skills Prathomsuka 6 in computational science and technology design, targeting an effective in accordance with criteria 80/80 2) evaluate the impact of these lessons on students' problem-solving abilities, comparing outcomes to a benchmark of 80% 3) assess the effectiveness of the PBL approach on students' learning outcomes against the same benchmark and 4) measure student satisfaction with the PBL-based web lessons. A cluster random sampling method was employed, involving 30 students from a single classroom. The study utilized four main tools: a web-based instructional module based on PBL, a problem-solving skills assessment (reliability coefficient of 0.47), a learning effectiveness test (reliability coefficient of 0.882), and a teaching and learning management satisfaction questionnaire (reliability coefficient of 0.647). Analysis techniques included percentage, mean, standard deviation, and one-sample t-tests. Findings revealed that 1) the PBL-designed web lessons achieved an efficiency score of 90.57/83.33 with a high level of appropriateness (mean = 4.60, SD = 0.54); 2) students' problem-solving skills improved significantly beyond the 80% benchmark (mean score = 8.47, equivalent to 84.7%); 3) learning outcomes also exceeded the benchmark (mean score = 25, equivalent to 83.33%); and 4) student satisfaction with the PBL approach was high (mean = 4.52, SD = 0.59). These results underscore the efficacy of problem-based web lessons in enhancing problem-solving skills and satisfaction Prathomsuka 6en
dc.description.abstractความมุ่งหมายของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ในรายวิชาวิทยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาของผู้เรียนหลังเรียน ที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา กับเกณฑ์ร้อยละ 80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา กับเกณฑ์ร้อยละ 80 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) บทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา 2) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.47 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.882 และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.647 สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการออกแบบและพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหามีประสิทธิภาพ 90.57/83.33 และคุณภาพมีค่าเฉลี่ย  อยู่ที่ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ที่ 0.54 อยู่ในระดับความเหมาะสมมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาของผู้เรียน ที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 8.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.7 3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 25 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.33 4) ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา มีค่าเฉลี่ย ( ) อยู่ที่ 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ที่ 0.59 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectบทเรียนบนเว็บth
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectWeb-based instructionen
dc.subjectProblem-solving skillsen
dc.subjectAchievementen
dc.subjectProblem-based learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleThe Development of Web based instruction based-on Problem based learning That Promotes Problem solving skills on Computation and Design Technology Subject for Grade 6 Studentsen
dc.titleการพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามหลักการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ในรายวิชาวิทยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorManit Asanoken
dc.contributor.coadvisorมานิตย์ อาษานอกth
dc.contributor.emailadvisormanit.a@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisormanit.a@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Technologyen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010583001.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.