Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2786
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Warissara Khotmungkhun | en |
dc.contributor | วริศรา โคตรมุงคุณ | th |
dc.contributor.advisor | Thanadol Phuseerit | en |
dc.contributor.advisor | ธนดล ภูสีฤทธิ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2025-05-07T11:40:01Z | - |
dc.date.available | 2025-05-07T11:40:01Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 6/3/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2786 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were (1) Study learning activities by using flipped classroom with inquiry activities to enhance the mathematical problem solving ability in the topic of analytic geometry for Mathayomsuksa 4 students to achieve an efficiency of 70/70. (2) Compare the learning achievements in the topic of analytic geometry by using flipped classroom with inquiry activities for Mathayomsuksa 4 students with the 70 precent criteria. (3) Compare the mathematical problems solving ability in the topic of analytic geometry by using flipped classroom with inquiry activities for Mathayomsuksa 4 students with the 70 precent criteria, and (4) Study students' satisfaction towards flipped classroom with inquiry activities to enhance the mathematical problems solving ability for Mathayomsuksa 4 students. The research sample were selected using the cluster random sampling technique. There were 41 students from Mathayomsuksa 4 at Sarakhampittayakom School in the Second Semester of Academic Year 2022. The research tools were: (1) 10 learning plans using flipped classroom with inquiry activities on the topic of analytic geometry. (2) There were 20-items multiple-choice tests to measure achievement. (3) There were 5-items essay tests to measure mathematical problems solving abilities. (4) There were 15-items questionnaires to measure satisfaction. The statistics used for analysing data were mean, percentage, standard deviation and One Sample t-test The results revealed that 1. Flipped classroom with inquiry activities using in the topic of analytic geometry for Mathayomsuksa 4 students with efficiency equal to 79.13/76.36, which is higher than the specified criterion 70/70 2. The students who studies flipped classroom with inquiry activities had a higher learning achievement than the percentage criteria of 70, which is statistically significant at the .05 level. 3. The students who studied flipped classroom with inquiry activities had mathematical problem-solving ability higher than the percentage criteria of 70, which is statistically significant at the .05 level. 4. The students have a high level of satisfaction with flipped classroom with inquiry activities to enhance mathematical problem-solving abilities. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) หาประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีประสิทธิ์ภาพตามเกณฑ์ 70/70 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ หลังเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม (3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ หลังเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม และ (4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสารคามพิทยาคม จำนวน 41 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ จำนวน 10 แผนการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ (3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ จำนวน 5 ข้อ เป็นแบบทดสอบอัตนัย และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 15 ข้อ และสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ One Sample t-test ผลการวิจัย พบว่า 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 79.13/76.36 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 2. นักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ อยู่ในระดับมีความพึงพอใจระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ห้องเรียนกลับด้าน | th |
dc.subject | การสืบเสาะหาความรู้ | th |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th |
dc.subject | ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | Flipped Classroom | en |
dc.subject | Inquiry-Based Learning | en |
dc.subject | Achievement | en |
dc.subject | Mathematical Problem-Solving Ability | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | The Effect of Flipped Classroom with Inquiry Method to Promote Mathematical Problem Solving Ability in the Topic of Analytic geometry for Mathayomsuksa 4 students | en |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thanadol Phuseerit | en |
dc.contributor.coadvisor | ธนดล ภูสีฤทธิ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | thanadol.p@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | thanadol.p@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010552021.pdf | 6.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.