Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChaitawat Aomkaewen
dc.contributorชัยธวัช อ้อมแก้วth
dc.contributor.advisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.advisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:01Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:01Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued11/6/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2787-
dc.description.abstractThis classroom action research aimed to develop Mattayomsuksa 4 students’ Ability to solve physics problems in topic of “momentum and collisions” in order to overcome 70 percent criteria of full score, using Creativity Based learning Approach with Metacognition Strategy. The participants of this study were 24 Mattayomsuksa 4 students of  Mahasarakham University Demonstration School (secondary). There were 3 action research cycles. Research instruments were composed of 1) 6 lesson plans  of Creativity Based learning Approach with Metacognition Strategy in topic of momentum and collisions 2) 3 problem solving ability to solve physics tests 3) interviewing forms implemented in 3 action research cycles. Descriptive statistics e.g., mean, percentage, and standard deviation were used to analyzed quantitative data. Whereas, qualitative data analysis was operated by Interpretation and conclusion into descriptive article. Qualitative data were collected from the interviews, teaching notes written after instruction, and assignments. The research results In action research cycle 1, included 8 students who passed the criteria at 70 percent, with an average score of 11.66 points, equivalent to 64.76 percent of the full score of 18 points Representing 33.33 percent of all students in the target group of 24 people. In action research cycle 2, The number of students passing was 19, who passed the criteria at 70 percent with an average score of 13.58 points accounting for 75.46 percent of the full score of 18 points accounting for 79.17 percent of all students Target group 24 people. and In action research cycle 3, There were 24 students who passed the criteria at 70 percent, with an average score of 15.53 points, equivalent to 85.82 percent of the full score of 18 points, equivalent to 100 percent of all students in the target group of 24 people. Qualitative information reflected Students are satisfied with learning activities. It allows students to practice and brainstorm to solve problems in groups. In Action Cycle 1, it was found that most students lacked understanding of metacognition strategies, especially in the assessment stage. Students therefore have relatively low scores in this section. As students' understanding of metacognition strategies increases Including the practice of solving physics problems continuously in the 2 and 3 cycles of practice, resulting in the average score from the test of students' ability to solve physics problems with metacognition to increase. According to all results, It can be concluded that creative learning combined with metacognition strategies can develop the ability to solve physics problems in the target group of students. As a result of stimulating the interest of students, they want to learn, want to know, and want to search for answers. As a result, students learn better than before and are interested in searching for knowledge by themselves, which has been applied in Solving physics problems and directing thoughts with metacognition strategies continuously increases students' ability to solve physics problems. Teachers can then apply this learning management model to teaching and learning to develop the ability to solve physics problems as appropriate to the content. Time and grade level of the student.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง โมเมนตัมและการชน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ร่วมกับกลวิธีเมตาคอกนิชัน ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 24 คน จากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) ดำเนินการวิจัยทั้งหมด 3 วงรอบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับกลวิธีเมตาคอกนิชัน เรื่อง โมเมนตัมและการชน จำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ จำนวน 3 ชุด 3) แบบสัมภาษณ์ใช้หลังสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละวงรอบ ดำเนินการ 3 ครั้ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการตีความและสรุปในรูปของการบรรยายโดยอาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์ บันทึกหลังการสอนและชิ้นงานของนักเรียน ผลการวิจัยในวงจรปฏิบัติการที่ 1 มีจำนวนนักเรียนผ่าน 8 คน ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70  มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 11.66 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 64.76 ของคะแนนเต็ม 18 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ของนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มเป้าหมาย 24 คน ในวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีจำนวนนักเรียนผ่าน 19 คน ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 13.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.46 ของคะแนนเต็ม 18 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79.17 ของนักเรียนทั้งหมดใน กลุ่มเป้าหมาย 24 คน และในวงวงจรปฏิบัติการที่ 3 มีจำนวนนักเรียนผ่าน 24 คน ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 15.53 คะแนน คิดเป็นร้อย ละ 85.82 ของคะแนนเต็ม 18 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มเป้าหมาย 24 คน ผลการสะท้อนข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติได้ระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกลวิธีเมตาคอกนิชันโดยเฉพาะในขั้นประเมิน นักเรียนจึงมีคะแนนในส่วนนี้ค่อนข้างต่ำ เมื่อนักเรียนมีความเข้าใจในกลวิธีเมตาคอกนิชันเพิ่มขึ้น รวมถึงได้ฝึกแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์อย่างต่อเนื่องในวงจรปฏิบัติการที่ 2 และ 3 ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ด้วยเมตาคอกนิชันของนักเรียนเพิ่มสูงขึ้น จากผลการวิจัยทั้ง 3 วงจรปฏิบัติการสามารถสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับกลวิธีเมตาคอกนิชันสามารถพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ให้กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้ เป็นผลมาจากการที่กระตุ้นความสนใจผู้เรียนนั้นมีความอยาก อยากเรียน อยากรู้ อยากค้นหาคำตอบส่งผลให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีกว่าเดิมและสนใจในการค้นหาความรู้ด้วยตนเองได้นำมาประยุกต์ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์และการกำกับความคิดด้วยกลวิธีเมตาคอกนิชันอย่างต่อเนื่องทำให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เพิ่มสูงขึ้น ครูผู้สอนจึงสามารถนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ได้ตามความเหมาะสมของเนื้อหา เวลาและระดับชั้นของนักเรียนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์th
dc.subjectกลวิธีเมตาคอกนิชันth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานขั้นร่วมกับกลวิธีเมตาคอกนิชันth
dc.subjectProblem Solving Ability in Physicsen
dc.subjectMetacognition Strategyen
dc.subjectCreativity Based Learning Approach with Metacognition Strategyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development of Problem Solving Ability in Physics of Mattayomsuksa  4 Students in Momentum and Collisions Properties Topic Using Creativity Based Learning Approach with Metacognition Strategyen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง โมเมนตัมและชน โดยการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับกลวิธีเมตาคอกนิชันth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.coadvisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.emailadvisormontree.v@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisormontree.v@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010554007.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.