Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2788
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChakhit Meeraten
dc.contributorชาคริต มีรัตน์th
dc.contributor.advisorUrit Charoen-Inen
dc.contributor.advisorอุฤทธิ์ เจริญอินทร์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:01Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:01Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued3/1/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2788-
dc.description.abstractThree purposes of this research were (1) to compare the physics problem-solving abilites of grade 11 student’s before learning and after learning by using deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy overall and separate categories by steps (2) to compare the physics problem-solving abilites of grade 11 student’s by using deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy after learning with the 70 percent criterion (3) to compare the physics learning achievement of grade 11 student’s by using deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy after learning with the 70 percent criterion. The sample consisted of 37 grade 11 students’ science and mathematics program of Watsratong municipal school in the first semester of the academic year 2023, obtained using the cluster random sampling technique. The research instruments used for the study were the learning management plan of the deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy, physics problem-solving abilites test, physics learning achievement test. The statistics used for analyzing data were mean, percent, standard deviation, dependent samples t-test, and one sample t-test. The results findings were summarized as follows: 1. Physics problem-solving abilites of grade 11 student’s who received the deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy overall and separate categories by steps after learning was higher than before learning criterion at the statistical significance at the .05 level. 2. Physics problem-solving abilites of grade 11 student’s who received the deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy after-learning overall Describe the Physics and Execute the Plan was higher than the 70 percent criterion at the statistical significance at the .05 level. 3. Physics Learning Achievement of grade 11 student’s who received the deductive teaching method with Heller and Heller’s logical problem-solving strategy after-learning was higher than the 70 percent criterion at the statistical significance at the .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ (1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ โดยรวมและจำแนกตามขั้นตอน (2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์ และเฮลเลอร์ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีแบบสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระจากกัน และการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง เสียง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ โดยรวมและจำแนกตามขั้นตอนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง เสียง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ หลังเรียนโดยรวม ขั้นอธิบายหลักการทางฟิสิกส์ เเละขั้นดำเนินการตามเเผนที่วางไว้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง เสียง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยth
dc.subjectกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์ และเฮลเลอร์th
dc.subjectPhysics Problem-Solving Abilityen
dc.subjectPhysics Learning Achievementen
dc.subjectThe Deductive Teaching Methoden
dc.subjectHeller and Heller’s Logical Problem-Solving Strategyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development of the Problem-Solving Ability for Mathayomsuksa 5 Students Using Deductive Teaching Method with Heller and Heller's Logical Problem-Solving Strategyen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์ และเฮลเลอร์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorUrit Charoen-Inen
dc.contributor.coadvisorอุฤทธิ์ เจริญอินทร์th
dc.contributor.emailadvisorurit.c@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorurit.c@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010554008.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.