Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChalermpol Supanyabutraen
dc.contributorเฉลิมพล สุปัญญาบุตรth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:03Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:03Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued22/1/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2805-
dc.description.abstractThe objectives of this research are 1) to study the composition and indicators of innovative organization of the secondary school under the Office of the Basic Education Commission 2) to study the current conditions, desired conditions and needs of development 3) to design, create and evaluate strategies for developing as an innovative organization of secondary school under the Office of the Basic Education Commission, and 4) to study the results of the development strategy of being an innovative organization of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. The research is divided into 4 phases: Phase 1 studies the composition and indicators of the school's innovative organization. Secondary education under the Office of the Basic Education Commission, the informants are 9 experts selected by specific selection. Phase 2 studies the current conditions, the sample groups are 270 secondary schools under the Office of the Basic Education Commission in Northeast, in the academic year 2023. The key informants are the school Directors and the teachers responsible for the innovation development of the school total 540 people. Phase 3 design, create and evaluate strategies for developing innovative organizations of the secondary school under the Office of the Basic Education Commission, Draft strategies to develop as an innovative organization of the secondary school under the Office of the Basic Education Commission Verifies, evaluate the suitability and feasibility of the strategy by qualified experts. Phase 4: studies the results of the development strategy of being an innovative organization of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. The target group is 1 secondary school under the Office of the Basic Education Commission that voluntarily participates. The 15 informants are the school director, the department heads and the heads of learning groups by specific selecting. The research tools are component assessment and indicators, questionnaires of the current conditions desired conditions of being an innovative organization of the secondary school under the Office of the Basic Education Commission, expert-based seminar notes and suitability assessment forms, feasibility of the strategy Statistics used in the research include mean percentage, standard deviation. Conformity index values may classify confidence values and requirements index values. The results of the research were as follow: 1. The Organizational Indicators of Innovation of Secondary School under the Office of the Basic Education Commission consist of 5 components: 1) Corporate Vision, 2) Organizational Structure, 3) Organizational Culture, 4) Human Resource Development, and 5) Corporate Communication. The results of the suitability assessment are at the highest level. 2. Current conditions: Overall moderate the overall desirable conditions is at the highest level and the necessary needs for the development of an innovative organization of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. Needs are sorted in descending order as follows: Corporate Culture, Corporate Communication, Human Resource Development, Corporate Vision and Structure. 3. Strategy for the development of being an innovative organization of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission consists of 5 strategies, as follows: 1) Corporate vision Strategy 2) Organizational Structure Strategy 3) Corporate Cultures Strategy 4) Human Resource Development and Strategy and 5) Corporate Communication. Assessment of the appropriateness and feasibility of the strategy to develop an innovative organization of secondary schools under the Faculty Office the Basic Education Committee found that there was the highest level of suitability and feasibility in all aspects. 4. The implementation of the strategy to develop the organization of innovation of secondary school under the Office of the Basic Education Commission has resulted in innovation in school management, which is a model for the implementation of educational development to meet national educational standards. There is a framework for implementation. Improving the quality of education of educational institutions "NKP SMART" Model under management Systematic using PDCA Deming Quality Cycle Process Technique.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้องค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อออกแบบ สร้าง และประเมินกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 4) เพื่อศึกษาผลการใช้กลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ขององค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 270 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน และครูผู้รับผิดชอบด้านการพัฒนานวัตกรรมของโรงเรียน จำนวน 540 คน ระยะที่ 3 การออกแบบ สร้าง และประเมินกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยกร่างกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตรวจสอบยืนยันประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 ศึกษาผลการใช้กลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สมัครใจเข้าร่วม จำนวน 1 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงาน และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 15 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบบบันทึกการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอำอาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบตัวบ่งชี้องค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านวิสัยทัศน์องค์กร 2) ด้านโครงสร้างองค์กร 3) ด้านวัฒนธรรมองค์กร 4) ด้านการพัฒนาบุคลากร และ 5) ด้านการสื่อสารองค์กร ผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านการสื่อสารองค์กร ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านวิสัยทัศน์องค์กร และ ด้านโครงสร้างองค์กร 3. กลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยกลยุทธ์ 5 ด้าน ได้แก่ กลยุทธ์ด้านวิสัยทัศน์องค์กร กลยุทธ์ด้านโครงสร้างองค์กร กลยุทธ์ด้านวัฒนธรรมองค์กร กลยุทธ์ด้านการพัฒนาบุคลากร และกลยุทธ์ด้านการสื่อสารองค์กร ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์การพัฒนา การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 4. การนำกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ ทำให้เกิดนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา ซึ่งเป็นรูปแบบในการดำเนินการพัฒนาจัดการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของชาติ มีกรอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา “NKP SMART” Model ภายใต้การบริหารจัดการเชิงระบบโดยใช้เทคนิคกระบวนการวงจรคุณภาพเดมมิ่ง PDCAth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectกลยุทธ์th
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectองค์กรแห่งนวัตกรรมth
dc.subjectStrategyen
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectInnovation Organizationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleStrategy for the Development of Innovative Organizations of Secondary School under the Office of the Basic Education Commissionen
dc.titleกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.coadvisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.emailadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010561005.pdf10.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.