Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2807
Title: | The Development of a Program to Enhance Academic Leadership of School Administrators in Schools under the Provincial Administrative Organization การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด |
Authors: | Ratchanee Pithakwongjinda รัชนี พิทักษ์วงศ์จินดา Suwat Junsuwan สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ Mahasarakham University Suwat Junsuwan สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ suwat.j@msu.ac.th suwat.j@msu.ac.th |
Keywords: | การพัฒนาโปรแกรม การเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการ ภาวะผู้นำทางวิชาการ Program Development Academic Leadership Development Academic Leadership |
Issue Date: | 5 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed to develop a program to enhance academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization using the research and development process. The research was conducted in 4 phases: Phase 1: Study of components and indicators of academic leadership of school administrators and schools under the provincial administrative organization. The components and indicators were examined by 7 experts. Phase 2: Study of the current status, desired status, and needs of academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization. The sample group consisted of 325 school administrators and deputy school administrators to academic affairs in schools under the provincial administrative organization. Phase 3: Developing a program to enhance academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization by examining the appropriateness and feasibility of the program and the program user manual by 9 experts using the expert seminar technique. Phase 4: Study of the results of using the program to enhance academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization. The program was developed and applied to school administrators in schools under the provincial administrative organization who volunteered to participate in 5 schools. The data were provided by: 5 school administrators using The tools in including ; interview forms, assessment forms, questionnaires, and tests. The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, and Modified Priority Needs Index (PNImodified) technique.
The research results found that:
1. The components and indicators of academic leadership of school administrators in schools under the Provincial Administrative organization consisted of 5 components and 18 indicators, namely 1) Determining the school's mission, consisting of 3 indicators, 2) Developing teaching and learning management, consisting of 3 indicators, 3) Developing the teaching curriculum, consisting of 4 indicators, 4) Promoting academic atmosphere, consisting of 5 indicators, and 5) Developing teachers, consisting of 3 indicators. The results of the evaluation of the appropriateness of the components and indicators of academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization found that they were most appropriate.
2. Current status of academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization found that overall was at a moderate level. The desired status of enhancing academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization was at the highest level. And the necessity of academic leadership of school administrators in schools under The provincial administrative organization was ranked as follows: development of teaching management, promotion of academic atmosphere, teacher development, curriculum development, and determination of school missions.
3. The program to enhance academic leadership of school administrators in schools under the provincial administrative organization consisted of 5 components: 1) Principles 2) Objectives 3) Contents: Module 1: Determining school missions Module 2: Developing teaching curriculum Module 3: Developing teaching management Module 4: Developing teachers Module 5: Promoting academic atmosphere Development methods included: 1) Self-study learning 2) Coaching 3) Training The program evaluation results was at the highest level.
4. Results of implementing the program to enhance academic leadership of school administrators Schools under the Provincial Administrative Organization used it and found that those who received training had higher knowledge and understanding scores after the training than before the training. The results of the satisfaction assessment after receiving the overall development were at the highest level. The results of the interviews and the results of observing the academic leadership of school administrators after receiving the training found that all school administrators had appropriate academic leadership. การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาดำเนินการ 4 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตรวจสอบองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา และรองผู้บริหารสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 325 คน ระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยการตรวจสอบยืนยันความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของโปรแกรมและคู่มือการใช้โปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยใช้เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 การศึกษาผลการใช้โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ที่พัฒนาขึ้นไปใช้กับ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ที่สมัครใจเข้าร่วม จำนวน 5 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบประเมิน แบบสอบถาม แบบทดสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 18 ตัวบ่งชี้ คือ 1) กำหนดพันธกิจของโรงเรียน ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ 3) การพัฒนาหลักสูตรการสอน ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ 4) การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ และ 5) การพัฒนาครู ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด พบว่า มีความเหมาะสมมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบัน ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพพึงประสงค์ในการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรียงลำดับความต้องการจำเป็นได้ตามลำดับ ดังนี้ ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการ ด้านการส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ ด้านการพัฒนาครู ด้านการพัฒนาหลักสูตรการสอน และด้านการกำหนดพันธกิจของโรงเรียน 3. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีองค์ประกอบ 5 ส่วน ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาประกอบด้วย Module 1 กำหนดพันธะกิจของโรงเรียน Module 2 การพัฒนาหลักสูตรการสอน Module 3 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน Module 4 การพัฒนาครู Module 5 การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ วิธีการพัฒนาได้แก่ 1) การศึกษาด้วยตัวเอง (Self-Study Learning) 2) การโค้ช (Coaching) 3) การฝึกอบรม (Training) โดยผลการประเมินโปรแกรม อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผลการนำโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดไปใช้ พบว่า ผู้เข้ารับการพัฒนามีคะแนนความรู้ความเข้าใจหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรม ผลการประเมินความพึงพอใจหลังการเข้ารับการพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการสัมภาษณ์และผลการสังเกตภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาหลังการเข้าอบรม พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งมีภาวะผู้นำทางวิชาการที่เหมาะสม |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2807 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010561009.pdf | 13.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.