Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRonnakorn Wattanabuakhomen
dc.contributorรณกร วัฒนบัวคอมth
dc.contributor.advisorNarongruch Woramitmaitreeen
dc.contributor.advisorณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2019-10-02T03:22:36Z-
dc.date.available2019-10-02T03:22:36Z-
dc.date.issued29/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/280-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstract           The author’s composition of ReuamAn Re Concerto for electric guitarand orchestra was inspired by the traditional rhythm of Reuam An Re which is the original rhythm of the Reum An Re. The rhythm consists of 3 different styles namely Cheung Muy, M’lop Dong, and Cheung Pir. The objectives of this studywere to create the new composition in the form of concerto for electric guitarand orchestra as well as to study the composition methods that apply the conceptsof western and lower Isan (the lower part of Northeast of Thailand) folk music. Sonata, Binary, and Rondo in the form of concerto were used in the composition to create the combination of western and lower Isan folk music.            The composer analyzed Reuam An Re Concerto for electric guitar and orchestra into five subjects as the following; structure of musical form, melody and melodic development, rhythm, orchestration, and performance techniques. Variation, Repetition, Inversion, Transposition, Sequence, Imitation, and Transformation techniques were used in the sonata form. In performing the electric guitar, Slide, Hammer on, and Pull off techniques were used in the characteristic of Trua (string instrument of lower Isan). Moreover, Clean Sound, Overdrive and Delay, Phaser, and Distortion effects were used in guitar performance to add varieties in the composition.en
dc.description.abstract           การสร้างสรรค์บทประพันธ์ เรือมอันเรคอนแชร์โต สำหรับกีต้าร์ไฟฟ้าและวงออร์เคสตรา ได้รับแรงบัลดาลใจจากทำนองเพลงประกอบการละเล่นเรือมอันเร ซึ่งเป็นทำนองดั้งเดิมของการละเล่นเรือมอันเร ประกอบด้วย 3 ทำนอง คือ ทำนองจืงมูย ทำนองมลบโดง และทำนองจืงปีร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์บทประพันธ์ในรูปแบบคอนแชร์โตสำหรับกีตาร์ไฟฟ้าและวงออร์เคสตรา และเพื่อศึกษาแนวทางและวิธีการประพันธ์โดยใช้แนวคิดทางดนตรีตะวันตกร่วมกับดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ สังคีตลักษณ์ที่ใช้ในบทประพันธ์ ประกอบด้วยสังคีตลักษณ์โซนาตาสังคีตลักษณ์สองตอน และสังคีตลักษณ์รอนโดในรูปแบบคอนแชร์โต เพื่อสร้างสรรค์บทประพันธ์ เพลงในลีลาของดนตรีตะวันตกผสมผสานกับดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ ผู้ประพันธ์วิเคราะห์บทประพันธ์เรือมอันเรคอนแชร์โต สำหรับกีต้าร์ไฟฟ้าและวงออร์เคสตรา กำหนดการวิเคราะห์ออกเป็น 5 ประเด็น ได้แก่ โครงสร้างของสังคีตลักษณ์ทำนองและการพัฒนาทำนอง ลักษณะจังหวะ การออเคสเตรชั่น และเทคนิคการบรรเลง            ผู้ประพันธ์ใช้เทคนิคในการประพันธ์ 4 รูปแบบ คือ เทคนิคการแปร เทคนิคการซ้ำเทคนิคพลิกกลับโน้ต เทคนิคการเลื่อนเสียงเทคนิคซีเควนซ์เทคนิคการเลียน และเทคนิคการปรับโน้ต สำหรับการบรรเลงกีต้าร์ไฟฟ้ามีการใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อเลียนเทคนิคของตรัว ได้แก่ การสไลด์ ฮัมเมอร์ออนและพูลออฟ รวมทั้งใช้เอฟเฟคกีต้าร์ประกอบการบรรเลงได้แก่ เสียงคลีนเสียงโอเวอร์ไดร์ผสมดีเลย์ เสียงเฟซเซอร์ และเสียงดิสทอร์ชั่นเพื่อใช้เปลี่ยนเสียงของกีต้าร์ไฟฟ้า และเป็นการเพิ่มสีสันให้กับบทประพันธ์th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเรือมอันเรth
dc.subjectคอนแชร์โตth
dc.subjectกีต้าร์ไฟฟ้าth
dc.subjectออร์เคสตราth
dc.subjectReuam an reen
dc.subjectConcertoen
dc.subjectElectric Guitaren
dc.subjectOrchestraen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleReuam an re Concerto for Electric Guitar and Orchestraen
dc.titleเรือมอันเรคอนแชร์โต สำหรับกีต้าร์ไฟฟ้าและวงออร์เคสตราth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60012050004.pdf23.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.