Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2835
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Siripan Silarak | en |
dc.contributor | ศิริพรรณ ศิลารักษ์ | th |
dc.contributor.advisor | Montree Wongsaphan | en |
dc.contributor.advisor | มนตรี วงษ์สะพาน | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2025-05-07T11:40:06Z | - |
dc.date.available | 2025-05-07T11:40:06Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 10/1/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2835 | - |
dc.description.abstract | The aims of this classroom action research are 1) to develop the ability to solve mathematical problems on addition, subtraction, multiplication, and division of students in Grade 3 to pass the criteria of 70 percent and above; and 2 ) To study the satisfaction of Grade 3 students with cooperative learning activities. Together with a bar model on addition, subtraction, multiplication, and division, the target group is Grade 3 students at Ban Tung Rung School, Surin Primary Educational Service Area Office 1, Sikhoraphum District. Surin Province, Semester 1, academic year 2023, number of 17 people, using research as 2 cycles of action research. The tools used in the research include Learning management plan Student interview form Post-teaching recording form A test to measure your ability to solve math problems. Statistics using averages, percentages, and standard deviations. The results of the research found that 1) students had higher scores in their ability to solve mathematical problems. The average score was 29.5, accounting for 82.03 percent of the full score, and there were students who 14 people passed the criteria, accounting for 82.35 percent of the total number of students. In the first operating cycle There were 5 students who passed the criteria because they were unable to analyze the problems and could not draw a bar model. Next operating cycle There were some students who passed the criteria and some students who did not pass the criteria. Students used problem solving methods that were not consistent with the questions and the final practice cycle. All students were able to solve the problems correctly. 2) Students were satisfied with Organized cooperative learning with Bar Model with a high level of satisfaction. The average was 2.38 or 70.01 percent. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป และ2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมกับบาร์โมเดล เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทุ่งรูง สพป.สุรินทร์ เขต 1 อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 17 คน โดยใช้การวิจัยเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ 2 วงรอบ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสัมภาษณ์นักเรียน แบบบันทึกหลังการสอน แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 29.5 คิดเป็นร้อยละ 82.03 ของคะแนนเต็ม และมีนักเรียนที่ ผ่านเกณฑ์จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 82.35 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ในวงจรปฏิบัติการแรก มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ 5 คน เพราะนักเรียนไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและยังวาดบาร์โมเดลไม่ได้ วงจรปฏิบัติการถัดมา มีนักเรียนบางส่วนที่ผ่านเกณฑ์และนักเรียนบางส่วนยังไม่ผ่านเกณฑ์นักเรียนใช้วิธีการแก้ปัญหาที่ไม่สอดคล้องกับโจทย์และวงจรปฏิบัติสุดท้าย นักเรียน ทุกคนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างถูกต้อง 2) นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับบาร์โมเดลในระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38 คิดเป็นร้อยละ 70.01 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ | th |
dc.subject | บาร์โมเดล | th |
dc.subject | ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | cooperative leaning | en |
dc.subject | bar model | en |
dc.subject | The ability to solve mathematical problems | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | Developing the ability to solve math problems of addition, subtraction, multiplication, dividing of people in 3rd grade using cooperative learning management in conjunction with bar models | en |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับบาร์โมเดล | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Montree Wongsaphan | en |
dc.contributor.coadvisor | มนตรี วงษ์สะพาน | th |
dc.contributor.emailadvisor | montree.v@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | montree.v@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010588017.pdf | 8.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.