Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/306
Title: Instructional Approach STEM Using Social Media to Enhance Creative Thinking Skills  for Primary 6 Students
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Authors: Siratchaya Pimpala
สิรัชญา  พิมพะลา
Thapanee Seecha
ฐาปนี สีเฉลียว
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM
สื่อสังคมออนไลน์
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
STEM-Based Learning Activities
Online Social Media
Creative Thinking Skills
Issue Date:  15
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of the research were 1) to develop STEM-based learning activities through online social media for grade 6 based on the 80/80 standardized criteria efficiency, 2) to compare the achievement of the 6th grade students before and after using STEM-based learning activities through online social media, 3) to assess creative thinking skills of the students after using the STEM-based learning activities through online social media, 4) to study the satisfaction of the students with the learning activities through online social media. The sample subjects were twenty 6th grade students at Phonthongwitayakarn school, Renu Nakhorn District, Nakhon Panom Province in the second semester of 2017. They were selected by simple random sampling.  The instrument was STEM-based learning activities through online social media, an achievement test, a creative thinking skills test, and a questionnaire. The statistics were used mean and standard deviation, and t-test dependent was used for hypothesis testing. The research results indicated that 1) STEM-based learning activities through online social media was process rated (E1) with  80.50 percent and efficiency of (E2) with 80.50 percent. So that the efficiency value of the STEM-based learning activities through online social media was 81.75/80.50. 2) The 6th grade students Learning by STEM-based learning activities through online social media found that the average achievement of the student after using the STEM-based learning activities through online social media was significantly higher than that before using the activities at the .05 level. 3) The 6th grade students Learning by STEM-based learning activities through online social media Creative skills are based was at a high level. And 4) The 6th grade students satisfaction with STEM teaching and learning by using social media the overall satisfaction of the student with the learning activities through online social media was at a highest level (X=4.52, SD.=0.53). 
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ออนไลน์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ 3) ศึกษาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนโพนทองวิทยาคาร อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 20 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยการจับฉลาก  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์รายวิชาคอมพิวเตอร์ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test dependent   ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ออนไลน์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพด้าน กระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 81.75 และมีประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E2)  คิดเป็นร้อยละ 80.50 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ อยู่ในระดับ ดี      4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย=4.52, SD.=0.53) 
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/306
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010580035.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.