Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/308
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jiraporn Prommali | en |
dc.contributor | จิราพร พรหมลิ | th |
dc.contributor.advisor | Somnuk Pattiyathani | en |
dc.contributor.advisor | สมนึก ภัททิยธนี | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T06:48:57Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T06:48:57Z | - |
dc.date.issued | 27/9/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/308 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to construct a desirable characteristic in work commitment by using multimedia measurement of Prathomsueksa 6 Students under the Office of Basic Educational Service Area of Surin Zone 2, to investigate the measurement quality, to create norms to interpret scores from the measurement results and to compare the scores between using the multimedia form and a regular form. Samples in this research included of 440 Prathomsueksa 6 students studying in seventeen schools under the the Office of Basic Educational Service Area of Surin Zone 2 in the academic year of 2016. The samples were retrieved by using the Multi - Stage Random Sampling Technique. The constructed measurement form to measure work commitment contained 25 items of multiple choice question in two formats; a multimedia form operated by computer presenting the measurement on screen the participant can respond to the measurement by making a cross on the selected choice in the provided answer sheet comparing to the controlled group. Each group conducted the test three times by 60 participants in the first and second tests and 100 participants in the third test. The test results provide reliability, construct validity, norms and expanding t- score using predictive equation. The results of the research reveal the followings; 1. The first pilot tested discriminating value (rxy ) resulting in 27 items are usable with statistically significant level .05. All the usable items are kept and they present discriminating values ranges between .23 - .62 and then they were taken into the second test. 2. The second test to investigate discriminating value (rxy ) resulting in 27 items are usable with statistically significant level .05. 25 items were selected. The items present discriminating values ranges between .32 - .79 and the overall reliability was 090 and then they were taken into the third test. 3. The third test figured out the measurement on the desirable characteristics in work commitment using multimedia for the Prathomsueksa 6 students contained 25 items with discriminating value ranges between .21-.64 and the overall reliability was .86. 4. Norms and expanding T value of the desirable characteristics in work commitment using multimedia for the Prathomsueksa 6 students ranged lowest to highest between T24 and T73. 5. The comparative results group revealed the higher score of the measurement of the desirable characteristics in work commitment using multimedia for the Prathomsueksa 6 students comparing to the controlled group with statistical significance of .05. In conclusion, the invented measurement of the desirable characteristics in work commitment using multimedia for the Prathomsueksa 6 students is appropriate to use for evaluating and to treat as a guideline in creating the measurement of the desirable characteristics in educational institution. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อสร้างแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 เพื่อหาคุณภาพของแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติ (Norms) สำหรับแปลความหมายของคะแนน จากผลการสอบของแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลของแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานระหว่างแบบวัดโดยใช้สื่อมัลติมีเดียกับแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2559 จำนวน 440 คน จากโรงเรียน 17 โรง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 2 ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi- Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน โดยแต่ละข้อกำหนดสถานการณ์แล้วให้เลือกตอบจาก 4 ตัวเลือก 1 ฉบับ จำนวน 25 ข้อ แบ่งเป็น 2 แบบ คือแบบใช้สื่อมัลติมีเดีย โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุมการแสดงผลของแบบวัดในจอภาพ แล้วตอบคำถามโดยทำเครื่องหมายกากบาทลงในกระดาษคำตอบของตัวเลือกที่ต้องการ กับแบบปกติ แต่ละแบบทำการทดลอง 3 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ใช้กลุ่มตัวอย่างแบบละ 60 คน เพื่อวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกรายข้อและปรับปรุง ครั้งที่ 3 ใช้กลุ่มตัวอย่างแบบละ 100 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) การสร้างเกณฑ์ปกติในรูปคะแนนที-ปกติ แล้วขยายคะแนน T โดยอาศัยการสร้างสมการพยากรณ์ และทำการเปรียบเทียบกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติทดสอบ t-test (Independent Sample) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. การทดลองครั้งที่ 1 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ เมื่อทดสอบนัยสำคัญแล้ว มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้ข้อที่เข้าเกณฑ์จำนวน 27 ข้อ จากทั้งหมด 30 ข้อ จึงคัดเลือกข้อที่เข้าเกณฑ์ไว้ทั้งหมด มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ .23 - .62 เพื่อนำไปทดลองครั้งที่ 2 ต่อไป 2. การทดลองครั้งที่ 2 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ เมื่อทดสอบนัยสำคัญแล้ว มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้ข้อที่เข้าเกณฑ์จำนวนทั้ง 27 ข้อเช่นเดิม จึงคัดเลือกให้เหลือ 25 ข้อตามที่ต้องการ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ .32 - .79 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .90 เพื่อนำไปทดลองครั้งที่ 3 ต่อไป 3. การทดลองครั้งที่ 3 แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานโดยใช้มัลติมีเดีย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 25 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ .21 - .64 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .86 4. คะแนนเกณฑ์ปกติ (Norms) และจากการขยาย T ปกติด้วยสมการของแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่า T ต่ำสุดถึง T สูงสุด อยู่ในช่วงตั้งแต่ T24 ถึง T73 5. ผลของการเปรียบเทียบแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานระหว่างแบบใช้มัลติมีเดียและแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานโดยใช้มัลติมีเดียสูงกว่าแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสรุป แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปใช้ประเมินและใช้เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนในสถานศึกษาได้แนวทางหนึ่ง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ | th |
dc.subject | สื่อมัลติมีเดีย | th |
dc.subject | ความมุ่งมั่นในการทำงาน | th |
dc.subject | เกณฑ์ปกติ | th |
dc.subject | Desirable Characteristics | en |
dc.subject | Multimedia | en |
dc.subject | Work Commitment | en |
dc.subject | Norms | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Construction of Multimedia Measurement on Desirable Characteristic in Work Commitment for Prathomsueksa 6 Students Under the Office of Basic Educational Service Area of Surin Zone 2 | en |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่นในการทำงานโดยใช้สื่อมัลติมีเดียของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 2 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010584003.pdf | 2.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.