Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRatsamee Pookandanen
dc.contributorรัศมี ภูกันดานth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:24:09Z-
dc.date.available2019-10-02T07:24:09Z-
dc.date.issued2/6/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/326-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis research aims to: 1) study the composition of internal supervision by the team's base in high school, 2) to develop a model for supervision by a team based in secondary schools and 3) to study the results. use the form of supervision by the team's base in high school. The research and development process is divided into 3 phases: Phase 1 studies analyzed by experts assessing the elements. The instruments include an evaluation component. And schools with good practices (Best Practice) 3 school used include interviews documentation. Teaching Observation and Phase 2 development model. And manual forms of communication within the team's base in high school. By luminaries Confirm forms-based seminars by experts. (Connoisseurship) instruments Phase 3 results were evaluated using a form of supervision by the team's base in high school. By applying the model to the school voluntarily 1 school instruments include manuals form of supervision by the team's base in high school. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. And analysis of content (Content Analysis). The results were as follows: 1. The element of supervision by the team's base in secondary schools can be divided into five main elements include 17 elements with the principles of the 4 elements. My aim is the third element. The process is the result of 6 elements to 3 elements. And the feedback has one element 2. Development of Communication within the team is based in secondary schools developed include the internal supervision principles include encouraging teachers to change teaching behavior. Changing the behavior of the teacher, the teacher must come from within yourself. Behavior change, teachers need to be supported by a team of supervisors. Personnel development at the heart of teaching is the teacher. The main aim of the internal supervision team to include the principle of linking content to the supervision process. The team approach to supervision that are consistent with the goals of supervision. The team is coached a positive concept. The supervision process, including planning, supervision and operations supervision. Operational Audit Evaluation Supervision Improve Supervision The success factors of internal supervision include power sharing, leadership, trust the efficacy of their own. Participation of cooperation include the results the team has a better understanding of the process of supervision. Supervision supervisory team to the team's base. Supervision Supervision Team and recipient satisfaction in the form of internal supervision to use. Information Return, including obstacles in the form of supervision by the team as a base 3. The form of supervision by a team based in secondary schools are using as follows: 3.1) team supervision are. knowledge in the form of internal supervision by members of the team supervising the evaluation criteria every 3.2) supervision team has the ability to oversee the management of the team is learning. the Through the evaluation criteria in the 3.3) teacher who has supervised the behavioral change in the student learning improved 3.4) takers teacher supervision. A better understanding of the curriculum. And learning It is the highest level 3.5) Supervision teams are satisfied to use this form of communication within the team as a base. Overview In most 3.6) Teacher Supervision recipients are satisfied with the form of supervision by the team as a whole was at the highest level.​​en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินองค์ประกอบ และศึกษาโรงเรียนที่มีแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบศึกษาเอกสาร และแบบสังเกตการสอน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบ และคู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบและยืนยันรูปแบบโดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่แบบประเมิน ระยะที่ 3 ผลการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยการนำรูปแบบไปใช้กับโรงเรียนที่สมัครใจ จำนวน 1 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา สามารถแบ่งออกเป็น 5 องค์ประกอบหลัก 17 องค์ประกอบย่อย ประกอบด้วย ด้านหลักการมี 4 องค์ประกอบย่อย ด้านจุดมุ่งมายมี 3 องค์ประกอบย่อย ด้านกระบวนการมี 6 องค์ประกอบย่อย ด้านผลลัพธ์ มี 3 องค์ประกอบย่อย และด้านข้อมูลย้อนกลับ มี 1 องค์ประกอบย่อย 2. การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ด้านหลักการนิเทศภายใน ได้แก่ มุ่งให้ครูเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครูต้องมาจากภายในตัวครูเอง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของครูจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากทีมนิเทศ บุคลที่เป็นหัวใจของการพัฒนาการเรียนการสอนคือครู หลักด้านจุดมุ่งหมายการนิเทศภายใน ได้แก่ เพื่อให้ทีมใช้หลักการเชื่อมโยงเนื้อหาไปสู่กระบวนการนิเทศ เพื่อให้ทีมใช้วิธีการนิเทศที่สอดคล้องกับเป้าหมายการนิเทศภายใน เพื่อให้ทีมใช้การโค้ชที่แนวความคิดเชิงบวก ด้านกระบวนการนิเทศภายใน ได้แก่ การวางแผนการนิเทศภายในการปฏิบัติการนิเทศภายใน การปฏิบัติการตรวจสอบ ประเมินผลการนิเทศภายใน การปรับปรุงแก้ไขการนิเทศภายใน ด้านปัจจัยความสำเร็จของการนิเทศภายใน ได้แก่ ภาวะผู้นำพลังร่วม ความไว้วางใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง การมีส่วนร่วม การร่วมมือ ด้านผลลัพธ์ ได้แก่ ทีมงานมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการนิเทศภายใน ทีมนิเทศสามารถนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐาน ทีมนิเทศและผู้รับการนิเทศมีความพึงพอใจในการนำรูปแบบการนิเทศภายในไปใช้ ด้านข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ ปัญหาอุปสรรคในการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐาน 3. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีผลการใช้ เป็นดังนี้ 3.1) ทีมนิเทศภายในมีความรู้ความเข้าใจในการใช้รูปแบบการนิเทศภายใน โดยสมาชิกทีมนิเทศผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน 3.2) ทีมนิเทศภายในมีความสามารถในนิเทศการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 3.3) ครูผู้รับการนิเทศภายในมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการเรียนการเรียนรู้ พัฒนาดีขึ้น 3.4) ครูผู้รับการนิเทศภายใน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ และสามารถจัดการเรียนรู้ ได้อยู่ในระดับมากที่สุด 3.5)  ทีมนิเทศภายในมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3.6) ครูผู้รับการนิเทศภายในมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectการนิเทศภายในth
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectThe Developmenten
dc.subjectInternal Supervisionen
dc.subjectTeam-Baseden
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Team-Based Internal Supervision Model of High Schoolen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010566005.pdf8.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.