Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/32
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanutporn Kojaranonen
dc.contributorธนัตถ์พร โคจรานนท์th
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T07:01:30Z-
dc.date.available2019-08-08T07:01:30Z-
dc.date.issued27/1/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/32-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to: 1) investigate the components of the high performance organization systems, 2) study the current state and desirable state of management of primary schools, 3) develop the high performance organization systems, and 4) assess the result of high performance organization systems test. The research was conducted associated with 4 phases. The first was to investigate the components of the high performance organization systems and assessment. There were 7 respondents to provide the information. The second phase was studied current situation and desirable situation of the management of primary schools. Groups of the study were 1,125 persons from 375 schools selected by two-stage random sampling method. The third phase was created the management of primary schools and investigate suitability and possibility of the systems by 9 respondents. The fourth phase was using the management of primary schools and assessment by administrator and teachers of the sample school. The result of the study were found:                                   1. The components of the high performance organization systems include 4 components 16 sub components.                                                    2. The current state of management of primary schools to high performance organization on 4 aspects include input process output and feedback were at moderate level and the desirable of management of primary schools all aspects were at high level.                                                      3. The high performance organization systems include 4 components, the first was input factor with 4 sub components include administrator, teacher and personnel, student, and the conducive to learning environment. The second was process factor with 6 sub components include restructuring, shared vision, communication to create understanding, team work learning, focus on learners, and commitment to excellence. The third was output factor with 4 sub components include. The structure of the organization is flexible and flexible. Learners have higher academic achievement than previous years. Teachers, staff and stakeholders Satisfied with the school management system. And schools are famous for their popularity and acceptance of the community. The fourth was feedback factor with 2 sub components include the reporting and improvement.                                             4. The result of high performance organization systems using.                                                                                                                                    4.1 The result of using the high performance organization system found that system results at high and highest levels.                                             4.2 The results of the satisfaction of administrators, teachers and personnel of the school toward the primary school management system to high performance organizations found that the administrators, teachers and personnel of the sample school has satisfied toward the primary school management system to high performance organizations on input aspect, process aspect, output aspect and feedback aspect all at high level.    en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระบบการบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง 3) พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง และ 4) เพื่อประเมินผลการนำระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูงไปใช้ โดยดำเนินการวิจัยเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบของระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง ยืนยันองค์ประกอบและประเมินความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้างาน/หัวหน้ากลุ่มสาระ โรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 1,125 คน จาก 375 โรงเรียน โดยผู้วิจัยได้ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เทคนิคการสุ่มแบบสองขั้นตอน (Two-stage Random Sampling) ระยะที่ 3 ออกแบบระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง ประเมินความเหมาะสมและความเป็นได้ของระบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คนและระยะที่ 4 นำระบบไปใช้และประเมินผล ประเมินผลการใช้ระบบและความพึงพอใจต่อระบบโดยผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า                                 1. องค์ประกอบของระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย                                                 2. สภาพปัจจุบันของระบบการบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูงด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลย้อนกลับ มีสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง และมีสภาพที่พึงประสงค์ของระบบการบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การ                                                                                     3. ระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักเรียน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านการกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การปรับโครงสร้างองค์การ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม การสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมกัน การทำงานร่วมกันเป็นทีม การมุ่งเน้นผู้เรียน และการมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ  ด้านผลผลิต (Output) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ โครงสร้างขององค์การที่ยืดหยุ่น คล่องตัว รองรับการเปลี่ยนแปลง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ผู้บริหาร ครู บุคลากรและผู้มีส่วนได้เสีย มีความพึงพอใจในระบบการบริหารจัดการโรงเรียน และโรงเรียนมีชื่อเสียงเป็นที่นิยมและเป็นที่ยอมรับของชุมชน ด้านผลย้อนกลับ (Feedback) รายงานผลการดำเนินงานและเผยแพร่ต่อสาธารณชน และการนำผลประเมินมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ                                            4. ผลการนำระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูงไปใช้                                                                                                          4.1 ผลการใช้ระบบบริหารจัดการโรงเรียนสู่องค์การสมรรถนะสูง พบว่า มีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับมากและมากที่สุด                                                                       4.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหาร ครู และบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่มีต่อระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง พบว่า  ผู้บริหาร ครู และบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจต่อระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลย้อนกลับ อยู่ในระดับมากทุกด้าน th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาth
dc.subjectองค์การสมรรถนะสูงth
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูงth
dc.subjectManagement System of Primary Schoolsen
dc.subjectHigh Performance Organizationen
dc.subjectPrimary Schools Toward High Performance Organizationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping Management System of Primary Schools Toward High Performance Organizationen
dc.titleการพัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010561002.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.