Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/341
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wichai Pramooljakko | en |
dc.contributor | วิชัย ประมูลจักโก | th |
dc.contributor.advisor | Pachoen Kidrakarn | en |
dc.contributor.advisor | เผชิญ กิจระการ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T07:26:50Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T07:26:50Z | - |
dc.date.issued | 20/10/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/341 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aimed to 1) Investigate the indicators of components of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service Area 2, 2) study the current state and desirable state of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service Area 2, 3) to study method for development teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service Area 2, 4) develop the program to enhance teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 This research have 4 phases the first phase: Investigate the indicators of components of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 suitability assessment by 5 luminaries, the second phase: study the current state and desirable state of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 from 230 samples, the third phase: study method for development teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 from administrators and teachers of best practice schools, and the fourth phase: develop the program to enhance teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 suitability and possibility assessment by 5 luminaries. Descriptive statistics used in this research were average, mainly percentage and modified priority needs index. The research were found: 1. The indicators of components of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 including 12 components 45 indicators. 2. The current conditions of physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 at moderate level and the desirable conditions at high level. 3. The result of method for development teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 and applied to the enhance teacher program were training, practice, experiment applied, knowledge exchange and supervision on physical education learning process by using games. 4. The result of program to enhance teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 development. Components of program were content, name of program, target, time to use, objective, plan/activity and program method/program media/program assessment. The result of enhance teacher in physical education learning process by using games for schools under the office of Mahasarakham primary educational service area 2 program suitability assessment at high level, and the program possibility assessment at high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 3) ศึกษาวิธีการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 4) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ยืนยันความถูกต้องโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูพลศึกษา สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 230 คน ระยะที่ 3 ศึกษาวิธีการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยศึกษาจากครูโรงเรียนต้นแบบ จำนวน 9 คน และระยะที่ 4 พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ยืนยันความเหมาะสมและเป็นไปได้โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (Modified Priority Needs Index : PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ประกอบด้วย 12 องค์ประกอบ 45 ตัวชี้วัด 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมมีสภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก 3. ผลการศึกษาวิธีการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ผู้วิจัยได้นำวิธีการพัฒนาบุคลากรจากการศึกษาโรงเรียนต้นแบบไปประยุกต์ใช้ ได้แก่ การอบรมให้ความรู้ การฝึกการปฏิบัติ การทดลองนำไปใช้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 4. ผลการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 องค์ประกอบของโปรแกรมประกอบด้วย บริบทของโปรแกรม ได้แก่ ชื่อโปรแกรม กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาที่ใช้ทั้งหมด ความมุ่งหมายของโปรแกรม แผน/กิจกรรม และวิธีดำเนินโปรแกรม/สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรม/ การประเมินผลโปรแกรม ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก และมีความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | โปรแกรมพัฒนาครู | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม | th |
dc.subject | Program to Enhance Teacher | en |
dc.subject | Physical Education Learning Process by Using Games | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Developing a Program to Enhance Teacher in Physical Education Learning Process by Using Games for Schools under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 2 | en |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบใช้เกม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58010586032.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.