Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/352
Title: | Developing Indicators of Promotion of Professional Learning Community for Teachers of School under Mukdaharn Primary Educational Service Area Office การพัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร |
Authors: | Daloon Boonperm ดาลุน บุญเพิ่ม Sombat Thairueakham สมบัติ ท้ายเรือคำ Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | ตัวบ่งชี้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ครู Indicator Professional learning Community Teacher |
Issue Date: | 26 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purposes of this research were to : 1) to develop indicators to Professional Learning Community for Teachers. 2) to develop of guidelines to promote Professional Learning Community for Teachers of School. The samples were divided into 3 groups : group1 are 5 experts by purposive sampling, group2 are the teachers under Mukdaharn Primary Educational Service Area Office. Used in the Exploratory Factor Analysis: EFA 550 people and Used in the Confirmatory Factor Analysis: CFA 1100 people random by Stratified Random Sampling. Group 3 are 9 experts that who support and promote Professional Learning Community. The research instruments were: 1) a Semi – structured Interview form 2) the Questionnaire form to promote Professional Learning Community for teachers in Mukdaharn Primary Educational Service Area Office. The content validity (IOC) is 0.60 to 1.00; the discriminative power is 0.42 to 1.00, the reliability is 0.98 for data analysis by basic statistical analysis Exploratory Factor Analysis (EFA) and Confirmatory Factor Analysis(CFA) using a computer program.
The findings indicated that analysis model elements the promotiong indicators of Professional Learning Community and 6 in the 53 indicators were positive, with values ranging from 0.437 to 0.574 with a statistical significance level .01. The factor loading is sorted descending by the weight of the sort from high to low is to provide Values and Vision, Assessment, Support, Teamwork, Self development and Thinking style. The factor loading of .574, .517, .480, .474, and .437, respectively with the index measure level of integration between models with empirical data. The chi-square value of 150.34 a probability of 1.00 degrees of freedom (df) equal to 1319 the GFI = .995 AGFI = .994 for the SRMR = .0628
RMSEA = 0.000, indicating that the model has validity. The result of the promoting guidelines of Professional Learning Community indicate that 6 in the guidelines of 43 items that promote Professional Learning Community. การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพของครูในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ของครูในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง กลุ่มที่ 2 ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ(Exploratory Factor Analysis : EFA) จำนวน 550 คน และใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) จำนวน 1,100 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น(Stratified Random Sampling) กลุ่มที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพจำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือ 1) แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง 2) แบบสอบถามการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC) เท่ากับ 0.60 ถึง 1.00 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.44 ถึง 0.84 ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA)และองค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์โมเดลองค์ประกอบตัวบ่งชี้การส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ทั้ง 6 ด้าน 53 ตัวบ่งชี้ มีค่าเป็นบวก มีค่าตั้งแต่ 0.44 ถึง0.57 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า โดยค่าน้ำหนักตั้งแต่ 0.437 ถึง 0.574 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า โดยเรียงลำดับค่าน้ำหนักองค์ประกอบจากมากไปน้อยคือ ด้านค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วม ด้านการตรวจสอบและประเมินผล ด้านการเรียนรู้เป็นทีม ด้านการสนับสนุนและให้รางวัล ด้านการพัฒนาตนเอง และด้านการพัฒนารูปแบบการคิดอย่างเป็นระบบ น้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ .574, .517, 480, .474 และ .437 ตามลำดับ มีดัชนีวัดระดับความกลมกลืนระหว่างโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ได้ค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 150.34 ค่าความน่าจะเป็น เท่ากับ 1.00 ที่องศาอิสระ (df) เท่ากับ 1319 ค่า GFI = 0.995 ค่า AGFI = 0.994ค่า SRMR = 0.628 ค่า RMSEA = 0.000 แสดงว่า โมเดลมีความตรงเชิงโครงสร้างและผลการพัฒนาแนวทางการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบจำนวน 43 ข้อ |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/352 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010584002.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.