Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTheerawat Roopleamen
dc.contributorธีรวัฒน์ รูปเหลี่ยมth
dc.contributor.advisorSombat Thairueakhamen
dc.contributor.advisorสมบัติ ท้ายเรือคำth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:28Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:28Z-
dc.date.issued19/6/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/353-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this study were to develop the Digital Intelligence Quotient Program for promoting the result of the student that used Digital Intelligence Quotient Program. The samples of this study were 37 students studying in the Prathomsuksa 4 – 6 of Ban Natabang 2 School, second semester academic year 2017. They were selected though cluster random sampling method. The research instruments used in the study were The Digital Intelligence Quotient Program and Digital Intelligence Quotient measure 61 items forms. The Digital Intelligence Quotient scale with discriminanting power ranging 0.302 – 0.871 and a reliability of 0.954. The statistics used for analyzing the collected data wrer mean, standaed deviation, and the F-test (One way repeated measure MANOVA) The study showed that The Digital Intelligence Quotient Program there was 10 activities to help strengthen the knowledge and Understanding of Digital Intelligence Quotient include Digital Identity Digital Use Digital Safety Digital Security Digital Emotional intelligence Quotient Digital Comunication Digital Literacy and Digital Right. Encourage students to express their opinions and take action.The Digital Intelligence Quotient Program had created and developed to determine the content validity from evaluated structure of the Digital Intelligence Quotient Program by 5 experts. There also indicated their result of the evaluation as a whole at the appropriately level. The students showed gains in the Digital Intelligence Quotient training after program participation (Posttest) and 2 weeks (Follow) after the program participation from before the program participation (Pretest) at the .01 level of significance. And the students showed gains in the Digital Intelligence Quotient after program participation 2 week (Follow) Have durability Exclude 2 elements was Digital Use and Digital Safety showed gains in the Digital Intelligence Quotient after program participation (Posttest) higher from after program participation 2 week  (Follow) at the .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับประถมศึกษา และเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านนาตะแบง 2 จังหวัดมุกดาหาร จำนวน 37 คน การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ โปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลและแบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล จำนวน 61 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.302 – 0.871 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.954 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One – way Repeated measure MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลที่ผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาขึ้นประกอบไปด้วยกิจกรรม 10 กิจกรรม ที่จะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของความฉลาดทางดิจิทัลทั้ง 8 อย่าง ได้แก่ การแสดงตัวตนบนโลกดิจิทัล การใช้เครื่องมือและสื่อดิจิทัล ความปลอดภัยทางดิจิทัล ความมั่นคงทางดิจิทัล ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล การสื่อสารดิจิทัล การรู้ดิจิทัลและสิทธิทางดิจิทัล โดยเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและลงมือปฏิบัติ และมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและการประเมินโครงร่างของโปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน พบว่าผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญโดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก นักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลคะแนนก่อนการใช้โปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล (Pretest) คะแนนหลังการใช้โปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล (Posttest) และคะแนนความฉลาดทางดิจิทัลหลังการเข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล 2 สัปดาห์ (Follow) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล หลังการเข้าร่วมโปรแกรม 2 (Follow) มีความคงทนทุกองค์ประกอบยกเว้น 2 องค์ประกอบคือ ด้านการใช้เครื่องมือและสื่อดิจิทัล และความปลอดภัยทางความปลอดภัยทางดิจิทัล ที่มีคะแนนหลังการใช้โปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล (Posttest) สูงกว่าการเข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัล (Follow) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความฉลาดทางดิจิทัลth
dc.subjectDigital Intelligence Quotienten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Digital Intelligence Quotient program for elementary school students.en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับประถมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010584003.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.