Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/356
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWilasinee Punnaen
dc.contributorวิลาสินี พรรณะth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:29Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:29Z-
dc.date.issued28/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/356-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to evaluation master degree in Geo-Informatics (improvement version 2017), Faculty of informatics, Mahasarakham University by employing CIPP model, which is comprised of 4 components: Context, Input, Process and Product. Data were collected through interviewing from 6 of curriculum advisory boards, 139 of current students, 53 of graduates, and 28 of employers. Percentage, mean, standard deviation, and content analysis were used.      The finding revealed that :           1. Overall of context is showed high level, curriculum advisory board, current students and graduates express their percentage opinion in high level.           2. Overall of input is showed high level, curriculum advisory board, current students and graduates express their percentage opinion in high level.           3. Overall of process is showed high level, curriculum advisory board, current students and graduates express their percentage opinion in high level.           4. Overall of process is showed high level, curriculum advisory board, current students, graduates and employer express their percentage opinion in high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใช้วิธีการประเมินในรูปแบบ CIPP Model มีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิต เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบแบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ประจำหลักสูตร 6 คน นิสิต 139 คน บัณฑิต 53 คน และผู้ใช้บัณฑิต 28 คน ซึ่งได้มาจากการคำนวณสัดส่วนโดยใช้สูตรของ Taro Yamane เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประเมินทุกด้านมีผลประเมินเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 1. ด้านบริบท โดยรวมเห็นว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามสถานภาพ พบว่า อาจารย์ประจำ นิสิต และบัณฑิต มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น โดยรวมเห็นว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามสถานภาพ พบว่า อาจารย์ประจำหลักสูตร นิสิต และบัณฑิต มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 3. ด้านกระบวนการ โดยรวมเห็นว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามสถานภาพ พบว่า อาจารย์ประจำหลักสูตร นิสิต และบัณฑิต มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 4. ด้านผลผลิต โดยรวมเห็นว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามสถานภาพ พบว่า อาจารย์ประจำหลักสูตร นิสิต บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิต มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth
dc.subjectหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตth
dc.subjectภูมิสารสนเทศth
dc.subjectCurriculum evaluationen
dc.subjectMaster degreeen
dc.subjectGeo-informaticsen
dc.subjectCIPPen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleCurriculum evaluation of Bachelor of Science in Geo-Informatics (improvement version 2013). Faculty of Informatics, Mahasarakham University.en
dc.titleการประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010585011.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.