Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSunisa Bangwiseten
dc.contributorสุนิสา บางวิเศษth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.issued26/4/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/359-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this action research aims to develop analytical thinking of Prathomsuksa 5 students based on STEM education. The target group were 4 students from Nongkumuang school, Wapipathum district, Mahasarakham province, academic year 2018. The instruments used for the study comprised of 6 lesson plans of STEM education, achievement test, analytical thinking test, and analytical thinking observation. The data were analyzed by mean, standard deviation, and percentage. The findings can be reported that students had 62.50% of analytical thinking in Cycle 1 and 76.67% in Cycle 2. In conclusion, learning based on STEM education can develop analytical thinking. Therefore, teachers should be implemented in learning and teaching science in the future.en
dc.description.abstractการวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน  กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านหนองคูม่วง  อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาและแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ รูปแบบละ 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง  2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์แบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และ4) แบบสังเกตพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนที่ได้รับการประเมินจากแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ เมื่อพิจารณาในแต่ละวงรอบ พบว่าในวงรอบที่ 1 การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 62.50 และการประเมินเมื่อสิ้นสุดวงรอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 76.67 โดยสรุป  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ช่วยให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทางด้านการคิดวิเคราะห์ จึงควรสนับสนุนให้ครูผู้สอนนำกรอบแนวคิดดังกล่าวไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ตามความเหมาะสมต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectประถมศึกษาth
dc.subjectanalytical thinkingen
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectPrathomsuksaen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Analytical Thinking For Prathomsuksa 5 Students Based on STEM Educationen
dc.titleการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010585049.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.