Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThitaree Sugkabuten
dc.contributorฐิตารีย์  สุขบุตรth
dc.contributor.advisorSivakorn Krissanasuvanen
dc.contributor.advisorสิวะกรณ์ กฤษณสุวรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.issued10/4/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/361-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study the factors and the indicators of competency’s team work for teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service (2) to study current conditions and desirable conditions of competency’s team work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service, and (3) to develop the Competency’s Team work Program on Competency’s Team work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service. The teachers were selected by purposive sampling from 1,847 participants, Primary School Amnartcharoean Educational Service. Research and Development are an application of Participatory Action Research. There are 317 participants. The instrumentations are the following ; 1) evaluation forms 2) questionnaire 3) interview forms. Statistics used for data analysis are percentage, mean and standard deviation. The results are as followed : 1. Result of the factors and the indicators on Competency’s Team work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service by 5 experts reported that the model’s possibility, suitability and utility are at the most level. 2. Result of the current conditions and desirable conditions about Competency’s Team work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service. reported that the program’s possibility, suitability and utility are at the most level. 3. Result of a use of a program of development of Competency’s Team work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Service by 5 experts reported that the model’s possibility, suitability and utility are at the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ 3) พัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีจำนวน 317 คน ได้มาโดยวิธีการใช้ตารางสำเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมิน แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญได้ 7 องค์ประกอบ 39 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 1) ด้านการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน มี 6 ตัวบ่งชี้ 2) ด้านการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ มี 5 ตัวบ่งชี้ 3) ด้านความไว้วางใจ มี 7 ตัวบ่งชี้ 4) ด้านการมีส่วนร่วม มี 6 ตัวบ่งชี้ 5) ด้านการตัดสินใจ มี 6 ตัวบ่งชี้ 6) ด้านภาวะผู้นำที่เหมาะสม มี 5 ตัวบ่งชี้ 7) ด้านความสมดุลในบทบาท มี 4 ตัวบ่งชี้ พบว่า องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ พบว่า สภาพปัจจุบันของการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ โดยรวมอยู่ในระดับระดับมาก (X̄ = 3.76) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X̄ = 4.75) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 3. ผลการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญ พบว่า โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอำนาจเจริญประกอบด้วย 4 องค์ประกอบดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายของโปรแกรม 2. วัตถุประสงค์ของโปรแกรม 3. เนื้อหา 4. วิธีการพัฒนา 2. การพัฒนา การพัฒนาแบ่งออกเป็น การเรียนรู้ด้วยตนเองตาม Module แบ่งออกเป็น 7 Module (18 ชั่วโมง) การเรียนรู้โดยทำงานร่วมกับบุคคลอื่น (10 ชั่วโมง) และการบูรณาการ สอดแทรกการการเสริมสร้างสมรรถนะในสถานศึกษาของตนเอง (60 ชั่วโมง) รวมทั้งสิ้น 90 ชั่วโมง ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้องเหมาะสมและความมีประโยชน์ของโปรแกรมมีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ ระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectสมรรถนะth
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectProgram Developmenten
dc.subjectCompetenciesen
dc.subjectTeam Worken
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Competency’s Team Work for Teacher of Primary School Amnartcharoean Educational Serviceen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอำนาจเจริญth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586006.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.