Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNichapa Ratanapholen
dc.contributorณิชาภา  รัตนพลth
dc.contributor.advisorPeerasak Worrachaten
dc.contributor.advisorพีระศักดิ์ วรฉัตรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.issued8/5/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/362-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study current conditions and desirable conditions to Development in Learning Experiences Management for Early Childhood’s Teachers Under the Office of Mahasarakham Primary Education Service Area 1, and (2) to Development in Learning Experiences Management for Early Childhood’s Teachers Under the Office of Mahasarakham Primary Education Service Area 1. The teachers were selected by purposive sampling from 137 participants, Mahasarakham Primary Education Service Area 1. Research and Development are an application of Participatory Action Research. There are 137 participants. The instrumentations are the following ; 1) evaluation forms 2) questionnaire 3) interview forms . Statistics used for data analysis are percentage, mean and standard deviation.   The results are as followed : 1. Result of the current conditions and desirable conditions about Development in Learning Experiences Management for Early Childhood’s Teachers Under the Office of Mahasarakham Primary Education Service Area 1. Only the program’s possibility, suitability and utility are at the most level. 2. Result of a use of a program of development in Learning Experiences Management for Early Childhood’s Teachers Under the Office of Mahasarakham Primary Education Service Area 1 by 7 experts and reported that the model’s possibility, suitability and utility are at the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้และพัฒนาโปรแกรมจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ ครูผู้สอนปฐมวัย จำนวน 137 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมิน แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 โปรแกรมพัฒนาการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโปรแกรมจำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก มีเพียงด้านแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ และด้านการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด    2. โปรแกรมจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์ โครงสร้างและเนื้อหา วิธีการดำเนินการ กิจกรรมและเครื่องมือการพัฒนา และการประเมินผลส่วนโปรแกรมการพัฒนาครูแบ่งออกเป็น การประเมินก่อนการพัฒนา (1.30 ชั่วโมง) การพัฒนาโดยการอบรมและใช้โปรแกรมการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 5 Module (28 ชั่วโมง) การเรียนรู้โดยทำงานร่วมกับบุคคลอื่น (8 ชั่วโมง) และการบูรณาการสอดแทรกการการปฏิบัติงานกิจกรรมพัฒนาการจัดประสบการณ์เรียนรู้ปฐมวัยในสถานศึกษาของตนเอง (2 ชั่วโมง) การประเมินหลังพัฒนา (30 นาที) รวมทั้งสิ้น 40 ชั่วโมง  ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของโปรแกรม พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมth
dc.subjectการจัดประสบการณ์เรียนรู้th
dc.subjectครูปฐมวัยth
dc.subjectProgramen
dc.subjectLearning Experiences Managementen
dc.subjectEarly Childhood’s Teachersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleProgram to Development in Learning Experiences Management for Early Childhood’s Teachers under the Office of Mahasarakham Primary Education Service Area 1en
dc.titleโปรแกรมพัฒนาการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586007.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.