Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNootjanat Sappasoen
dc.contributorนุดจนาจ สัพโสth
dc.contributor.advisorSivakorn Krissanasuvanen
dc.contributor.advisorสิวะกรณ์ กฤษณสุวรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:31Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:31Z-
dc.date.issued20/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/364-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were   (1) to  study the factors and the indicators of English Communication Learning Management  for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27,    (2)  to study current conditions and desirable conditions of  English Communication Learning Management  for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27,  and (3)  to develop   the Teachers’Development Program on English  Communication Learning Management  for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27.   The teachers were selected by purposive sampling from 60 schools , Secondary Educational Service Area Office 27. Research and Development are an application of Participatory Action Research. There are 217 participants. The instrumentations are the following ;  1) evaluation forms 2) questionnaire 3) interview forms . Statistics used for data analysis are percentage, mean and standard deviation.   The results are as followed : 1. Result of the factors and the indicators on English Communication Learning Management  for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27 by 5 experts and reported that the model’s possibility, suitability and utility  are at the most level. 2. Result of the current conditions and desirable conditions  about English Communication Learning Management   for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27. The reported that the program’s possibility, suitability and utility  are at the most level. 3. Result of a use of a program of development  of Teachers’Development Program on English  Communication Learning Management  for School  in the Secondary  Educational  Service Area 27  by 7 experts and reported that the model’s possibility, suitability and utility  are at the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ  1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27  2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27  3)  พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีจำนวน 217 คน ได้มาโดยวิธีการใช้ตารางสำเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย    แบบประเมิน แบบสอบถาม และ  แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน            ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษาได้ 6 องค์ประกอบ 30 ตัวบ่งชี้ ดังนี้  1) หลักสูตร มี  6 ตัวบ่งชี้ 2) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มี 7 ตัวบ่งชี้  3) การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร  มี 8 ตัวบ่งชี้  4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 9 ตัวบ่งชี้  5) สื่อการเรียนรู้ มี 9 ตัวบ่งชี้  6) การวัดและประเมินผล มี 8 ตัวบ่งชี้ พบว่า องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสถานศึกษา พบว่า สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง  ( X̄ = 3.10  ) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27    โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด   (X̄ = 4.52) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน   3. ผลการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 27  พบว่า โปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารประกอบด้วย 7 องค์ประกอบดังนี้ 1. หลักการและเหตุผล   2. จุดมุ่งหมายของของโปรแกรม 3. เนื้อหาสาระ 4. โครงสร้างของโปรแกรม 5. วิธีการพัฒนา  6.  ระยะเวลาในการพัฒนา 7. การวดและประเมินผล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. การประเมินก่อนการ พัฒนา (1ชั่วโมง)  2. การพัฒนา  การพัฒนาแบ่งออกเป็น การเรียนรู้ด้วยตนเองตาม Module แบ่งออกเป็น 6 Module (18 ชั่วโมง) การเรียนรู้โดยทำงานร่วมกับบุคคลอื่น (12ชั่วโมง) และการบูรณาการ สอดแทรกการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสถานศึกษาของตนเอง (120 ชั่วโมง )  3. การประเมินหลังการพัฒนา ( 1 ชั่วโมง) รวมทั้งสิ้น 150 ชั่วโมง  ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้องเหมาะสม และความมีประโยชน์ของโปรแกรม  มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ ระดับมากที่สุด มีความสอดคล้องระดับมากที่สุด และมีประโยชน์ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมพัฒนาครูth
dc.subjectภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารth
dc.subjectCommunication Learning Teaching.en
dc.subjectThe teachers'Development program.en
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Development of Teachers'Development Program on English Communication Learning Management for School in the Secondary Educational Service Area 27en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586016.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.